การเคลื่อนย้ายและความสัมพันธ์ในเมือง: กรณีศึกษารถตู้โดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพและปริมณฑล

Main Article Content

ณปภัช สิริเกษมชัย

บทคัดย่อ

การศึกษานี้ต้องการที่จะทำความเข้าใจรถตู้โดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพและปริมณฑลในอีกแง่มุมหนึ่งผ่านประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของผู้ใช้บริการรถตู้โดยสารประจำทางฯ เป็นประจำที่ทำให้
การเดินทางด้วยรถตู้โดยสารประจำทางฯ มีความหมายแตกต่างจากระบบขนส่งในรูปแบบอื่นที่มีในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมเมืองและความสัมพันธ์ทางสังคมที่รถตู้โดยสารประจำทางฯ เข้าไปเกี่ยวข้อง และวิธีการที่รถตู้โดยสารประจำทางฯ รองรับชีวิตคนเมือง/ชีวิตแบบเมือง ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างชานเมือง-ในเมืองที่มีรถตู้เป็นส่วนหนึ่งในการประกอบสร้างขึ้น ด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยาที่เกี่ยวข้อง ผ่านการสังเกตการณ์และมีส่วนร่วมกับการใช้รถตู้โดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้ใช้รถตู้โดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพและปริมณฑลเป็นประจำ โดยไม่กำหนดหรือจำกัดเพียงเส้นทางรถโดยสารฯ สายใดสายหนึ่งจำนวน 5 คน

Article Details

How to Cite
สิริเกษมชัย ณ. (2023). การเคลื่อนย้ายและความสัมพันธ์ในเมือง: กรณีศึกษารถตู้โดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 35(1), 236–271. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/259854
บท
บทความวิชาการ

References

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย. 2565. “แผนที่รถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (Bangkok Mass Transit) มกราคม 2565.” การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย, ข่าวประชาสัมพันธ์. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. https://www.mrta.co.th/th/news/information/metro_map_2022/.

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. 2564. รายงานการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ปี 2564 . สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/about-us/016-64-edit.pdf.

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. 2565. “ข้อมูลจากสถิติการให้บริการรถโดยสารประจำทาง ปีงบประมาณ 2565 (1 ต.ค.64 - 31 มี.ค.65)”. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/about-us/complaint-statistics65-oct64-mar65.pdf.

Anderson, Ben, Mathew Kearnes, Colin McFarlane and Dan Swanton. 2012. “On Assemblages and Geography.” Dialogues in Human Geography 2(2): 171-189. https://doi.org/10.1177/2043820612449261

Bennett, Jane. 2010. “The Agency of Assemblages.” Vibrant Matter: A Political Ecology of Things, 20-38. Durham: Duke University Press.

Ingold, Tim. 2000. The Perception of the Environment: Essays on Livelihood, Dwelling and Skill. London: Routledge.

Vannini, Phillip. 2010. “Mobile Cultures: From the Sociology of Transportation to the Study of Mobilities.” Sociology Compass 4(2): 111-121.

Levin, Lena. 2019. “How May Public Transport Influence the Practice of Everyday Life among Younger and Older People and How May Their Practices Influence Public Transport?.” Social Sciences 8(3): 1-16.

Certeau, Michel de. 1984. “Part III Spatial Practices.” The Practice of Everyday Life, 91–135. Berkeley: University of California Press.

Moovit. 2565. ตารางเดินรถ เส้นทางและป้ายต่างๆ. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. https://moovitapp.com/index/th/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0-lines-Bangkok-2401-1363476.

Nail, Thomas. 2017. “What is an Assemblage?.” SubStance. 46: 21-37.

Norum, Roger. 2020. “Anthropology Mobility.” Oxford bibliographies. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565. https://www.oxfordbibliographies.com/view/document/obo-9780199766567/obo-9780199766567-0254.xml.

Jensen, Ole B. 2009. “Flows of Meaning, Cultures of Movements: Urban Mobility as Meaningful Everyday Life Practice.” Mobilities 4: 139–58.

Salazar, Noel B., Alice Elliot, and Roger Norum. 2019. “Introduction: Studying Mobilities: Theoretical Notes and Methodological Queries.” In Methodologies of Mobility: Ethnography and Experiment, edited by Noel B Salazar, Alice Elliot, and Roger Norum, 1–24. New York: Berghahn Books. https://doi.org/10.2307/j.ctvw04gfd.5

Sopranzetti, Claudio. 2018. Owners of the Map: Motorcycle Taxi Drivers, Mobility, and Politics in Bangkok. Oakland, California: University of California Press.