ทุ่งกุลาร้องไห้: เรื่องเล่าและการเดินทางสู่การจัดการพื้นที่เศรษฐกิจในสภาวะหลังสมัยใหม่ ทุ่งกุลาร้องไห้
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เพื่อวิเคราะห์เรื่องเล่าการเดินทางของชาวกุลา (ร้องไห้) บนทุ่งกว้างสู่การจัดการพื้นที่เศรษฐกิจอีสานยุคใหม่ภายใต้แนวคิดสภาวะหลังสมัยใหม่ นำวิธีวิทยาวิเคราะห์ภาคปฏิบัติการของเรื่องเล่าเล็ก ๆ (Little narrative) พบว่า ชาติพันธุ์กุลากลุ่มหนึ่งในพม่าผู้ซึ่งอดทนต่อทุกสถานการณ์ เดินทาง หาบเร่ ค้าขายเพื่อโอกาสและชีวิต เมื่อเดินทางมาสู่ทุ่งที่ราบสูงอีสานก็เผชิญกับสภาพธรรมชาติอันเลวร้ายและเหน็ดเหนื่อยจึงโอดครวญร้องไห้ที่ตัวเองอาจต้องมาตายในท้องทุ่งนี้ ดังนั้น “ทุ่งกุลาร้องไห้” กลายเป็นวาทกรรมในเรื่องเล่าตอกย้ำสภาพแวดล้อมที่นักคิดแนวหลังสมัยใหม่มองว่า ปกปิด อำพราง ซ่อนเงื่อนของความเป็นทุ่งและความเป็นอื่นภายใต้ความจริงในพื้นที่อีสาน ขณะเดียวกันวาทกรรมดังกล่าวผลิตซ้ำและถูกจัดการด้วยองค์กรภาคส่วน (ภาครัฐและเอกชน) มีโครงการอีสานเขียว และความเลวร้ายเชิงพื้นที่แห่งนี้สามารถสร้างเศรษฐกิจข้าวหอมมะลิที่ดีที่สุดของโลก
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อเขียนทั้งหมดทีปรากฏในวารสารสังคมศาสตร์ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนโดยเฉพาะ มิใช่ทัศนคติของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือกองบรรณาธิการวารสารสังคมศาสตร์
References
กาญจนา แก้วเทพ. 2544. ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: เอดิสัน
เพรสโปรดักส์.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. มปป.. “ทุ่งกุลาร้องไห้” สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566.
เกษม เพ็ญภินันท์. 2549. “สู่พรมแดนความรู้... เรื่องวัฒนธรรมบริโภค: ความเป็นปกติวิสัย
ของการบริโภควัฒนธรรมในชีวิตประจำวัน”. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
จักรกริช สังขมณี. 2022. “มานุษยวิทยาหลังมนุษยนิยมกับ Science/Climate Fictions”,
วารสารมานุษยวิทยา, 5(2):11-53 สืบค้นจาก https://so06.tci-
thaijo.org/index.php/jasac/article/view/261083
ชูชีพ พิพัฒน์ศิถี, มานิวิภา อินทรทิต, ศรีอร สมบูรณ์ทรัพย์และอภิวันท์ กำลังเอก.
โครงการศึกษาถึงการสะสมทุนเพื่อการผลิตในสาขาเกษตร. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. 2554. วาทกรรมการพัฒนา อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์
และความเป็นอื่น. (พิมพ์ครั้งที่ 5) กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. 2555. สัญวิทยาโครงสร้างนิยม หลังโครงสร้างนิยมกับการ
ศึกษารัฐศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: วิภาษา.
เติม วิภาคย์พจนกิจ. 2557. ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไทยพีบีเอส. รากนี้มีเรื่องเล่า. (2564,12 กรกฎาคม) "ทุ่งกุลาร้องไห้" กับวัฒนธรรมที่รุ่งเรือง
ในอดีต [Video File]. สืบค้นจาก
https://www.youtube.com/watch?v=WZPufsvJl-U
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. 2558. ปฏิวัติบริโภค:จากสิ่งของฟุ่มเฟือยมาสู่สิ่งจำเป็น. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: ศยาม
ธัญญา สังฆพันธานนท์. 2556. วรรณคดีสีเขียวกระบวนทัศน์และวาทกรรมธรรมชาติใน วรรณคดีไทย. ปทุมธานี: นาคร.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. 2567ก. “ชาติพันธุ์นิพนธ์ของความทรงจำ” สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม, 2567,
https://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/561
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. 2567ข. “มานุษยวิทยาพ้นสังคม (Post-Social Anthropology) กับ
การท้าทายของมานุษยวิทยาชายขอบ.” สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม, 2567, จาก
https://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/579
นิติ ภวัครพันธ์. 2558. ชวนถกชาติและชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: สยาม.
บัญชา พุฒิวนากุลและนิภาภรณ์ จงวุฒิเวศย์. 2561. “ฮีตคอง” วัฒนธรรมอีสานที่ทรง
พลังแห่งสัญญะเหนือกาลเวลา.” ในการประชุมวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10
(น. 684-685) พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา
ประพนธ์ ตติยวรกุลวงศ์. 2553. “การเล่าเรื่องและทัศนคติของผู้ชมเกี่ยวกับความรุนแรง
ในภาพยนตร์.” วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประวัติศาสตร์นอกตำรา. (2563, 30 พฤศจิกายน) EP.189 เส้นทาง "คนกุลา" บนท้องทุ่งแห่ง
อารยธรรมอีสาน [Video File]. สืบค้นจากhttps://www.youtube.com/watch?v=H4wia38z8NA&t=2126s.
ประสาน แทนขำ. 2534. บทบาทของโครงการอีสานเขียว: การพัฒนาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. 2545. “ข้ามพรมแดนกับคําถามเรื่องอัตลักษณ์วัฒนธรรม
พื้นที่และความเป็นชาติ.” สังคมศาสตร์ 15 (1): 1-16.
พิษณุรักษ์ ปิตาทะสังข์. (2548). “การเล่าเรื่องและการสร้างความจริงทางสังคมในข่าวคลื่นยักษ์สึนามิ.” วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวารสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไพฑูรย์ มีกุศล. 2545. แนวคิดแนวทางในการศึกษาสังคมและประวัติศาสตร์. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วัฒนธรรมจังหวัดมุกดาหาร .มปป. “องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม.” สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน
https://mukdahan.m-culture.go.th/th
ศิลปวัฒนธรรม. 2566ก. “ทุ่งกุลาร้องไห้” บนเส้นทางการค้ากับโลกของชาว “กุลา”
พ่อค้าเร่แห่งอีสาน.” สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2566 https://www.silpa-
mag.com/history/article_51140
ศิลปวัฒนธรรม. 2566ข. “ทุ่งกุลา “ไม่ร้องไห้” ใครกล่าวไว้คนแรก?” สืบค้นเมื่อ
ธันวาคม 2566 https://www.silpa-mag.com/history/article_7739.
สามชัย ศรีสันต์. 2563. บทสำรวจวาทกรรมชนบทและบ้านนอกในความเป็นไทย.
กรุงเทพฯ: สมมติ
สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดร้อยเอ็ด. 2564. “ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้.”
สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2566
https://roiet.prd.go.th/th/content/category/detail/id/235/iid/62559.
สำนักงานพัฒนาที่ดินเขตที่ 11 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2565). “กรมพัฒนาที่ดิน-50 ปี
แห่งทุ่งกุลาร้องไห้จากวันวานสู่วันแห่งความภูมิใจ (วันดินโลก 5 ธันวาคม)”
สืบค้นเมื่อ15 มิถุนายน 2566, http://r11.ldd.go.th/r11/index.php/knowledge/all-video/video/149-50-5-engsub.
สุจิตต์ วงษ์เทศ, บก. 2546. “ทุ่งกุลา” อาณาจักรเกลือ 2500 ปีจากยุคแรกเริ่มล้าหลังถึง
ยุคมั่งคั่งข้าวหม้อ. กรุงเทพฯ: มติชน
สุทัศน์ กองทรัพย์. 2552. “วิถีคนทุ่งกุลาร้องไห้.” วารสารวิจัยและพัฒนา 2(4) 53-58. สืบค้น
เมื่อ 8 มิถุนายน 2566 https://so03.tci- thaijo.org/index.php/RDIBRU/article/view/128834/96831
สุภีร์ สมอนา. 2559. สังคมวิทยาอีสาน. อุดรธานี : ศักดิ์ศรีอักษรการพิมพ์.
อานันท์ กาญจนพันธุ์ . 2562. วิธีคิดเชิงซ้อนในการวิจัยชุมชน: พลวัตและศักยภาพของชุมชนในการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
อัลธูแซร์, แอล. 2557. อุดมการณ์และกลไกทางอุดการณ์ของรัฐ. (กาญจนา แก้วเทพ, ผู้แปล)
พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
Althusser, L. 1971. Essays on Ideology. London: Verso
Berger, A. 1992. Media Analysis Techniques, California: Sage.
Fisher, W. (1989. Human Communication as Narration: Toward a
Philosophy of Reason,Value, and Action. Columbia: University
of South Carolina Press.
Lyotard, F. 1993. The postmodern condition: A report on knowledge.
(G. Bennington, B. Massumi &, F. Jameson Trans.). University of Minesota
press. Mineapolis.
TCP. 2020. “อีสานเขียว โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง.” สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2566,
https://tcp.com/sustainability/project/the-northeastern-green-project/.