The Study on Potential and Impacts of Short-Term Room Rental for Tourism in Thailand

Main Article Content

Nattapat Manirochana
Jutatip Junead
Angsumalin Jamnongchob

Abstract

            This research project aims to study the current situation of short-term rentals for tourism in Thailand, including Thai entrepreneurs' potential in this business. This research project also studied the customer behavior and effects of the short-term rental for tourism in Thailand. These results will be used as a recommendation to develop short-term rentals in Thailand. This research's sampling group is 1,127 tourists using the service of the short-term rental for tourism in Thailand. This research also used the questionnaire as the research tool, with 5 level rating scales arranged in ascending order. The reliability of the questionnaire is equal to .76. The key informants have consisted of government officers, Thai entrepreneurs, and tourists. Individual Interviews, group interviews, and 187 people in participation observation are the research methods. The statistical analysis for the research question is a percentage, Mean and Standard Deviation. Qualitative research methods are also used in this project.
The results of this project are as follows:
               The host of short-term rentals for tourism in Thailand is increased according to the tourist demand in Thailand, especially in the top traveling destination in Thailand such as Bangkok, Pattaya, Phuket, and Chiang Mai Province.
               The potential of The Thai entrepreneur in short-term rentals for tourism in Thailand is excellent. The strong point is good accommodations, hospitality, good hosting, multiple choice for rental and living, convenience for many activities, and privacy.
              The tourist's top requirement is the unique place, low price, good experience, privacy, and home alike.
              The Effect is the low rental standard, unfair competition. Tricky service, misused buildings, disturb, and the Thai government cannot take any income tax from the online platform.
Recommendations are the Unique of decoration, sanitary, security, using the online platform for marketing. Create a good experience activity. Increase foreign language skills, use of technology, and good hosting. Provide laws and regulations relating to the short-term rentals for tourism, regulating the tax system in this business, security, and national stability.

Article Details

How to Cite
Manirochana, N., Junead, J., & Jamnongchob, A. (2020). The Study on Potential and Impacts of Short-Term Room Rental for Tourism in Thailand. KKBS Journal of Business Administration and Accountancy, 4(3), 27–56. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/kkbsjournal/article/view/241153
Section
Research Articles
Author Biography

Nattapat Manirochana, Faculty of Business Administration For Society

ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี
บธ.บ. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บธ.บ. (การจัดการการท่องเที่ยว และการโรงแรม) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปริญญาโท
วท.ม. (การวิจัย และสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (การจัดการท่องเที่ยงเชิงนิเวศชุมชน) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผ.ม. (การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ปริญญาเอก
ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยพะเยา


ประสบการณ์การงานวิจัย (
5 ปีย้อนหลัง: 2558-2562)

หัวหน้าโครงการวิจัย

2562   การศึกษาศักยภาพ และผลกระทบของธุรกิจการให้เช่าที่พักระยะสั้น เพื่อการท่องเที่ยวท่องเที่ยวในประเทศไทย, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2562   การศึกษาศักยภาพ และการเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวบนฐานทรัพยากรของชุมชนโดยการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ                                                                                                     

2561   การวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย และสาธารณรัฐประชา-ธิปไตยประชาชนลาว, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2561   ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพบริการส่วนประสมทางการตลาดบริการกับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของลูกค้าชาวไทยที่ซื้อกาแฟพรีเมี่ยมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2561   การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์โดยชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ไทพวน อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2558   ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของประเทศไทย, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

 

นักวิจัยร่วม

2562 การประเมินนโยบายของภาครัฐในการส่งเสริมธุรกิจ SMEs ของประเทศไทย: ศึกษาเปรียบเทียบแบ่งตามรายภูมิภาค และรายประเภท, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2562   การพัฒนาดัชนีชี้วัดความพร้อมการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่สากลในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก กรณีศึกษาความมั่นคงทางทรัพยากรน้ำและการจัดการ, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2561   การพัฒนาเครื่องมือจากการประเมินความสุขจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2561   แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างสร้างสรรค์ของชุมชนบางปู จังหวัดปัตตานี,ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2560   การพัฒนาภาพลักษณ์ และการท่องเที่ยวเชื่อมโยงในพื้นที่อารยธรรมล้านนากับกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2560   การศึกษากลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวในเส้นทางเชื่อมโยงในพื้นที่อารยธรรมล้านนากับกลุ่มอนุภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2560   กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์และมูลค่าเพิ่มจากธุรกิจสปาและการนวดแผนไทย เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2559   การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จากเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และความหลากหลายของทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่เกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2559   แนวทางการพัฒนาพื้นที่ด่านชายแดนบ้านฮวกเพื่อรองรับการท่องเที่ยวข้ามพรมแดน,ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558   การศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่แก่งผาได อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย และพื้นที่เชื่อมโยง, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558   การพัฒนาผู้ประกอบการในพื้นที่ล้านนาตะวันออกเพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558   การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 

บทความวิจัย/บทความวิชาการ

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพบริการ ส่วนประสมทางการตลาดบริการกับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของลูกค้าชาวไทยที่ซื้อกาแฟพรีเมี่ยมในพื้นที่กรุงเทพฯ. วารสารศิลปะศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. (อยู่ระหว่างการประเมินฯ)

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในตลาดชุมชนจีนโบราณบ้านชากแง้วจังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุมชลบุรี. 15(2), 117-130.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และอัควรรณ์ แสงวิภาค. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพบริการกับความปลื้มใจของผู้รับบริการชาวต่างประเทศที่เข้ารับบริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬา และสุขภาพ. 19(1), 87-99.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และสุวิทย์ สุวรรณโณ. (2561). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบไม่รีบเร่ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. วารสารรัชต์ภาคย์. 12(25), 246-255.

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ, ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และวุฒิพงษ์ ทองก้อน. (2561). รูปแบบที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน ของชุมชนบางกระเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 24(4), 548-560.   

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ, อรัญ วานิชกร และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2561). ศักยภาพอัตลักษณ์ความเป็นไทยของธุรกิจสปา และการนวดแผนไทยเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสู่สากล.วารสารปัญญาภิวัฒน์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. 10(2), 1-16.

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด อังสุมาลิน จำนงชอบ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2562). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 10(2), 156-187.

พิมพรรณ สุจารินพงค์ ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และณรงค์พงศ์ เพิ่มผล. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์กับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 10(1), 229-253.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ. 13(2), 25-46.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และสุวิทย์ สุวรรณโณ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว กับการท่องเที่ยวแบบไม่รีบเร่ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 14(1), 202-213. 

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านริมคลอง จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารธุรกิจปริทัศน์. 9(2), 21-38.

กรกช ตราชู กชกร ศรีทะวงษ์ ณัฎฐดิษฐ์ ดิษฐ์วัฒนกูล และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในพื้นที่บ้านด่านเกวียน อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารรัชต์ภาคย์. ฉบับพิเศษครบรอบ 23 ปี, 162-177.

นพรัตน์ เขียวสูงเนิน สินทิวา เจริอภิรักษ์ ชนิชา หิรัญธนาภัทร์ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560) การพัฒนาศักยภาพ และสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงพุทธ ในเขตเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารรัชต์ภาคย์.ฉบับพิเศษครบรอบ 23 ปี, 361-370.

เศรษฐวัสภุ์ พรมสิทธิ์ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2559). โมเดลสมการโครงสร้างความผูกพันต่อองค์การของพนักงานโรงแรมในเมืองพัทยา. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. 6 มิถุนายน 2559.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และนราศรี ไววาณิชกุล. (2559). ความสามารถในการแข่งขันของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของประเทศไทย. วารสารปาริชาต. 11(2), 196-215.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2558). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของประเทศไทย. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 11(2), 41-74.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2558). การประยุกต์ใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา. การประชุมวิชาการด้านการพัฒนานักศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 5 สร้างบัณฑิตไทยสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ 13-15 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ จังหวัดอุดรธานี, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และวีรวิชญ์ เลิศไทยตระกูล. (2557). การรับรู้คุณภาพบริการของผู้รับบริการโรงพยาบาลเอกชนในเขตจังหวัดชลบุรี, ประชุมวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 3 ในวันศุกร์ที่ 24 มกราคม 2557 มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2556). การศึกษาความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของลูกค้าอุตสาหกรรมด้านสุขภาพในเขตจังหวัดชลบุรี, ประชุมวิชาการวิทยาการจัดการวิชาการ ครั้งที่ 3 ในวันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2556). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการของลูกค้าอุตสาหกรรมด้านสุขภาพในเขตจังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาการจัดการปริทรรศน์.15(15).

งานที่ปรึกษา
2562 โครงการพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่สากล ปี 2562, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2561 โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ตามทิศทางการพัฒนาภาคในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564), สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2560 โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ.2561-2564 ของกรมการท่องเที่ยว, กรมการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2560 โครงการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อกำหนดเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยวเพิ่มเติม, สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

References

Airbnb. (2019). 20 for 2020: Airbnb Reveals the 20 Destinations to Visit Next Year. Retrieved January 12, 2020, from https://news.airbnb.com/20-for-2020/ (In Thai)

Airdna. (2016). MarketMinder–Empowering the Sophisticated Airbnb Entrepreneur. Retrieved August 12, 2019, from https://www.airdna.co/blog/marketminder-rental-analytics (In Thai)

Bangkok Post. (2018). Airbnb highlights Thai growth. Retrieved January 12, 2020, from https://www.bangkokpost.com/business/1393282/airbnb-highlights-thai-growth

BLT Bangkok. (2017). “Airbnb” Consumer like but illegal in Thailand. Retrieved November 1, 2019, from https://www.bltbangkok.com/ (In Thai)

Burns, N. & Grove, S. (1997). The practice of nursing research: conduct, critique and utilization. 3rd ed. Philadelphia: WB Saunders.

Cochran, W.G. (1953). Sampling techiques. New York: John Wiley & Sons.

Colliers International Thailand. (2016). convenient. Airbnb in Thailand and around the world has makes the hassle of finding accommodation more convenient. Retrieved January 10, 2020, from https://www2.colliers.com/en-TH

Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16, 297–334.

Cronin, J.J., Brady, M.K. & Hult, G.M. (2000). Assessing the effects of quality, value, and customer satisfaction on consumer behavioral intentions in service environments. Journal of Retailing, 76(2), 193-218.

Department of Provincial Administration. Investigation and Legal Affairs Bureau. (2018). Statistics of hotels in Thailand. Retrieved March 10, 2019, from https://multi.dopa.go.th/omd3/news/cate6. (In Thai)

Department of Tourism. (2016). Tourist Situation Summary. March 2016. Retrieved March 10, 2019, from https://www.atta.or.th/wp-content/uploads/Summary-March-2016.pdf. (In Thai)

Economic, Business and Grassroots Recearch Center, Government Savings Bank. (2017). Tourism situation in 2017. Retrieved November 1, 2018, from https://www.gsb.or.th/getattachment/dec775be-26f8-4947- a1d3-cb45ba90177a/IN_travel_61_detail.aspxgsbresearch (In Thai)

Economic Tourism and Sports Division. (2018). Tourism Situation in Thailand Q1/2019 and Q2/2019. Retrieved December 17, 2019, from https://www.mots.go.th/download/article/article_20191025094442.pdf (In Thai)

Guttentag, D.A. (2016). Why tourists choose Airbnb: A motivation-based segmentation study underpinned by innovation concepts. Ontario, Canada: Department of Recreation and Leisure Studies, University of Waterloo.

Johnson, R.B. & Onwuegbuzie, A.J. (2004) Mixed methods research: A research paradigm whose time has come. Educational Researcher, 33, 14-26.

Jongwattanamontree, V. (2015). Factors affecting the choice of Airbnb rentals in Thailand. Bangkok: Thammasat University. (In Thai)

Kotler, P. & Armstrong, G. (2013). Principles of marketing. 14th ed. Harlow: Pearson.

Kotler, P. & Keller, K.L. (2009). Marketing management. 13th ed. New Jersey: Pearson.

Krungsri Research. (2017). Business tendency Hotel Business Industry in 2018-2020. Retrieved November 1, 2018, from www.krungsri.com/bank/getmedia/9027bab8- d979-4f28-9ff3-f21444f5dab1/IO_Hotel_2017_TH.aspx (In Thai)

McMillan, J.H. & Schumacher, S.S. (1997). Research in education a conceptual introduction. New York: Longman.

Ministry of Tourism and Sports. (2019). Tourism Economic Review. Retrieved March 10, 2019, from https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=8265. (In Thai)

Ministry of Tourism and Sports. (2017). Strategy of Ministry of Tourism and Sports Issue 4, 2017-2021. Retrieved March 10, 2019, from https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=9689. (In Thai)

National Statistical Office of Thailand. (2018). Accommodation Survey 2018. Retrieved August 5, 2019, from www.nso.go.th (In Thai)

Office of the National Economic and Social Development Council. (2018). Information of Airbnb hosting in Thailand. Retrieved March 10, 2019, from https://www.nesdc.go.th/ (In Thai)

Parasuraman, A., Berry, L.L. & Zeithaml, V.A. (1993). Research note: More on improving service quality measurement. Journal of Retailing, 69, 140-147

Phisanbut, S. (2005). Learn statistics and research with case studies. Bangkok: Witthayaphat. (In Thai)

Prachachat online. (2017). The Thai hotel business is highly competitive (but) the numbers are growing across the country. Retrieved November 1, 2018, from https://www.prachachat.net/tourism/news-122784 (In Thai)

Ratsamimala, T. (2016). Perception, attitude, and influential factors of travelers towards AirBNB in Thailand. Bangkok: Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University. (In Thai)

Royal Thai Embassy. (2018). Airbnb reports 67 percent increase in Thailand bookings. Retrieved January 12, 2020, from https://thaiembdc.org/2018/01/15/airbnb-reports-67-percent-increase-in-thailand-bookings/

Siamrath Online. (2019). Airbnb reveals the Gen C group has joined the experience in Thailand with a growth of more than 228%. Retrieved, January 10, 2020, from https://siamrath.co.th/n/122959 (In Thai)

Srikrajang, C. (2018). Laws and Status of Airbnb Businesses in Japan and Thailand. Retrieved November 1, 2018, from https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/644821 (In Thai)

The Standard. (2018). Travel like a local "Airbnb" launches 'Experiences' in Chiang Mai, a local travel activity service. Retrieved August 5, 2019, from https://thestandard.co/airbnb-extends-experiences-programme-across-chiangmai/ (In Thai)

Veerapeindee, S. (2017). Factors Influencing Intention to Book Accommodations on Airbnb. Bangkok: Thammasat University. (In Thai)

Wiratchai, N. (2005). Statistics useful. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (In Thai)

Wiriyakuekun, S. (2017). The law to regulate the rental of new accommodation for tourism Airbnb. Retrieved February 5, 2019, from https://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2560/hi2560-024.pdf (In Thai)

Yu et al. (2014). Service quality, perceived value, customer satisfaction, and behavioral intention among fitness center members aged 60 years and over. Social Behavior and Personality, 42(5), 757-768.