ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่นผ่านช่องทางการตลาดแบบออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์
คำสำคัญ:
ส่วนประสมทางการตลาดบริการ, การตัดสินใจซื้อ, ช่องทางการตลาดแบบออนไลน์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ และการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่นผ่านช่องทางการตลาดแบบออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ 2. เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่นผ่านช่องทางการตลาดแบบออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่เคยทำการซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่นผ่านช่องทางออนไลน์ กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ W.G. Cochran ได้ตัวอย่างจำนวน 385 คน สุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็นแล้วเลือกวิธีสุ่มแบบสะดวก เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ เพื่อหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม โดยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ
ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งด้านองค์ประกอบทางด้านกายภาพมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ความคิดเห็นเกี่ยวกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก การประเมินทางเลือกมีค่าเฉลี่ยสูงสุด โดยพบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ 5 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการ และด้านองค์ประกอบทางด้านกายภาพ มีอำนาจในการทำนายผลการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่นผ่านช่องทางออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์รวมกันเท่ากับ 0.641 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการและการตัดสินใจซื้อมีความสัมพันธ์กันค่อนข้างสูง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงพหุเท่ากับ .917
References
จริยา แย้มสำราญ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจและความตั้งใจในการซื้อซ้ำเสื้อผ้าผ่านร้านค้าบนสื่อสังคมออนไลน์. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหา
บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้น เมษายน 10, 2565, จาก https://archive.cm.mahidonl.ac.th/bitstream/123456789/ 43081/TP%20MS.
%202564.pdf.
ชนิตา สุขสวัสดิ์. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านออนไลน์ของผู้บริโภคจังหวัดกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้น เมษายน 19, 2565, จาก https://mmm.ru.ac.th/mmm/is/sat18/6314060029.pdf.
ชมพูนุช น้อยหลี. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าจากร้านค้าออนไลน์. การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอหการค้าไทย.
ฐานิศา มณะโส และเทวี พึ่งชื่น. (2556). พฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อโทรศัพท์มือถือของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. สืบค้น
กุมภาพันธ์ 26, 2565, จาก https HYPERLINK "https://so03.tci-/":// HYPERLINK "https://so03.tci-/"so03 HYPERLINK "https://so03.tci-/".
HYPERLINK "https:// so03.tci-/"tci HYPERLINK "https://so03.tci-/"-thaijo.org/index.php/ JMSNPRU/article/view/157331/117615.
ณัฐพงค์ รัตนะพรม, ชีวพัฒน์ อาจการ, ศิริลักษณ์ เพียรการ, อัจฉรา เมฆสุวรรณ และขจรศักดิ์ วงศ์วิราช. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และความน่าเชื่อถือ
ของเว็บไซต์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ต อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 8(1), 17-29.
ธณศร หนูศิร และฐิติพงษ์ คงชาวนา. (2559). พฤติกรรมการเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัย
นเรศวร สืบค้น มีนาคม 15, 2656, จาก https://www.econ.nu.ac.th/wp-content/uploads/2020/01/3.pdf.
ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2563). การตลาดบริการ : แนวคิดและกลยุทธ์ = Service Marketing : Concepts and Strategies. (พิมพ์ครั้งที่ 6, ฉบับปรับปรุง).
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นริสรา ปินตาแจ่ม และพิชาภพ พันธุ์แพ. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเช่าหอพักในเขตนิคมอุตสาหกรรมลำพูน จังหวัด
ลำพูน. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, (8)2, 33-50.
บุศรินทร์ ถิรโภไคย. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์การ
จัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้น เมษายน 10, 2565, จาก https://archive.cm.mahidonl.ac.th/bitstream/123456789/3402/
/TP%20BM.096%202562.pdf.
ปาจรีย์ ยังชู. (2564). พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออนไลน์ของประชากรในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระการบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
รามคำแหง. สืบค้น สิงหาคม 30, 2564, จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt15-1/6114993672.pdf.
พิรัชย์ชญา คล่องกำไร. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าผ่านเฟซบุ๊กของกลุ่มเจเนอเรชั่นวายในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(1), 132-149.
ภัทรานิษฐ์ ฉายสุวรรณคีรี. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าจากร้านค้าในเครือข่ายเฟซบุ๊กและอินสตาแกรม. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัตนา โพธิวรรณ์. (2562). การใช้ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นของผู้บริโภคในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าแบบ
อิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก. สืบค้น สิงหาคม 15, 2564, จาก https://mis.krirk.ac.th/ librarytext/ MBA/2562/
F_Rattana_Pothiwan.pdf.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2562). ระเบียบวิธีการวิจัย. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2563). หลักการตลาด. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีรัตน์, ปณิศา มีจินดา, และจิระวัฒน์ อนุวิชชานนท์. (2563). หลักการตลาด. นนทบุรี: ธรรมสาร.
สุภาวดี ขุนทองจันทร์. (2560). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สิริชัย ดีเลิศ และ สุภาวดี รัตนพงศ์พันธ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคตลาดเฉพาะกลุ่ม.
Veridian E-Journal, SilpakornUniversity, 11(1), 2404-2424.
อภิวัฒน์ อัมรปาล. (2563). พฤติกรรมและรูปแบบการใช้งานกูเกิลเสิร์ชเพื่อการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหา
บัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้น กุมภาพันธ์ 20, 2565, จาก www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789.21615/Thitima_
Phakaratsakul_fulltext.pdf?sequence =2&isAllowed=y.
อรุโณทัย ปัญญา. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก) ของนักศึกษาระดับปริญญา
ตรีในมหาวิทยาลัยเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อามานี่ ชุมศรี และฉันทนา ปาปัดถา. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นของสตรีมุสลิมในกรุงเทพมหานคร. วารสาร
บริหารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 3(2), 74-94.
การตลาดออนไลน์ Online marketing. (2565). สืบค้น มีนาคม 6, 2565, จาก การตลาดออนไลน์คืออะไร/. 1Belief. (2564). ร้านค้าออนไลน์ (E-Commerce)
คืออะไร. บริษัทวันบีลีฟ จำกัด. สืบค้น สิงหาคม 20, 2564, จาก https://www.1belief.com/article/e-commerce/.
Johnston, E. (2013). 5 Steps to understanding your customer’s buying process. Retrieved ฏSeptember 25, 2021, from ้
https://www.b2bmarketing.net/en-gb/resources/blogs.
Kerin, R. A. & Hartley, S. W. (2019). Marketing. (4nd ed). New York: McGraw Hill. การตลาดออนไลน์ คืออะไร สำคัญอย่างไร. (2564). สืบค้น สิงหาคม
, 2564, จาก https://mandalasystem.com/blog/th/48/digital-marketing-21082020.
Nunnally, J., & Bernstein, I. (1994). Psychological Methods. ew York: McGraw-Hill. Wordpress.com tangmokiki. (2564, ออนไลน์). เสื้อผ้าแฟชั่น.
สืบค้น มิถุนายน 30, 2564, จาก https://nicksudarat41.wordpress.com/เสื้อผ้าแฟชั่น.
Yang Ying. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออนไลน์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์เฟสบุ๊ค (Facebook) ของผู้บริโภควัยทำงานในเขต
กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สืบค้น กันยายน 15, 2564, จาก https://dspace.bu.ac.th/
jspui/bitstream/123456789/4376/1/yang_ying.pdf.
Yüksel, H. F., & Akar, E. (2021). Tactics for Influencing the Consumer Purchase Decision Process Using Instagram Stories: Examples From
Around the World. International Journal of Customer Relationship Marketing and Management (IJCRMM), 12(1), 84-101.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารลวะศรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารลวะศรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ