การรับรู้ภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิดสินค้าที่มีต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีนของผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y ในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ประพันธ์ วงศ์บางโพ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า, ความตั้งใจซื้อ, รถยนต์สัญชาติจีน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นด้านภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิด ความเชื่อ ทัศนคติ และความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีนของผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิด ความเชื่อ และทัศนคติ ที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีนของผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) แล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ทดสอบสมมติฐานการวิจัย และวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์ (Path analysis)

ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y มีการรับรู้ภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิดอยู่ในระดับมาก  มีความเชื่ออยู่ในระดับมาก มีทัศนคติต่อคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ตราสินค้าสัญชาติจีนอยู่ในระดับมาก แต่มีความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีนในระดับปานกลาง ผลการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์พบว่า ทัศนคติที่มีต่อตราสินค้ารถยนต์สัญชาติจีน มีอิทธิพลทางตรงและมีอิทธิพลมากที่สุดต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีน ขณะที่ความเชื่อมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีน โดยผ่านทางอิทธิพลของทัศนคติ นอกจากนี้ ภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิด มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์สัญชาติจีน โดยอิทธิพลของภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิดนั้นส่งผ่านไปยังความเชื่อและทัศนคติ

References

กรุงเทพประกันชีวิต. (2566). คน Gen Y กับเรื่องภูมิคุ้มกันของชีวิต. สืบค้น กันยายน 17, 2566, จาก https://www.bangkoklife.com/HappyLifeClub/en/articles/lifestyle/gen-y-people-and-their-immune-system#:~:text=คน%20Gen%20Y%20คือ%20กลุ่ม,ความสำคัญกับตัวเอง

จันทนา วันคณิตย์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของ Generation Y. สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.

ฐานเศรษฐกิจ. (2567). จีน รุกคืบชิงส่วนแบ่งตลาดรถยนต์ EV คว้ายอดขายอันดับ 1 แซงหน้าญี่ปุ่น. สืบค้น มิถุนายน 10, 2567, จาก https://www.thansettakij.com/motor/ev/593056

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2564). รถจีน 6 ยี่ห้อถล่มไทย ปลุกตลาด EV กดดันค่ายญี่ปุ่น. สืบค้น พฤษภาคม 15, 2566, จาก https://www.prachachat.net/motoring/news-693928

ผู้จัดการออนไลน์. (2563). กลุ่ม“Millennials” ฐานผู้บริโภคสำคัญ ผลักดันการเติบโตทางเศรษฐกิจ. สืบค้น สิงหาคม 7, 2566, จาก https://mgronline.com/smes/detail/9630000114917

วรรณรัตน์ สินสมบูรณ์. (2557). อิทธิพลของประเทศแหล่งกำเนิดตราสินค้าที่มีต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). การใช้สถิติในงานวิจัยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐานสากล (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สามลดา.

ส่วนสวนสาธารณะ 1. (ม.ป.ป.). พื้นที่และกลุ่มเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้น มีนาคม 15, 2566, จาก

https://sites.google.com/view/publicparksdiv1/พนทกรงเทพมหานคร

หนึ่งฤทัย รัตนาพร. (2562). การศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติต่อการเลือกซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของกลุ่มคน เจนเนอเรชัน X และ Y ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

BrandThink. (2564). รถยนต์แบบไหนที่ Gen Y เลือก?. สืบค้น พฤศจิกายน 20, 2565, จาก https://www.brandthink.me/content/starcom-gen-y

MarketThink. (2565). สร้างแบรนด์จากจุดแข็งของ “ประเทศต้นกำเนิด” เรื่องสำคัญที่ต้องรู้ก่อนทำการตลาด. สืบค้น ธันวาคม 15, 2566, จาก https://www.marketthink.co/22560

Surasaki Nopankun. (2566). รถยนต์จีนมันดีอย่างไง ทำไมความนิยมในไทยถึงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง?. สืบค้น กันยายน 17, 2566, จาก https://www.exoticquixotic.com/stories/otive-chinese-car-brand

Tangsiri. (2566). GWM ยอดขายปี 65 โต 213.8% ฟาก MG ลดลง 12% รถจีนไล่กินแชร์จากญี่ปุ่น Nissan อาการหนักสุด. สืบค้น พฤศจิกายน 20, 2566, จาก https://brandinside.asia/gwm-mg-chinese-car-kill-japan/

Techsauce. (2567). เมื่อจีนรุกตลาด EV ไทยแบบไม่รอใคร สัญญาณเตือนใหม่ที่แบรนด์ญี่ปุ่นต้องปรับตัว. สืบค้น มิถุนายน 10, 2567, จาก https://techsauce.co/news/will-chinese-ev-detrone-japanese-car-in-thailand-market

Thamonwan Kuaha. (2563). จีนในสายตาไทย และไทยในสายตาจีน. สืบค้น กันยายน 17, 2566, จาก https://adaybulletin.com/know-mahamangkorn-thailand-and-china-in-each-others-eyes/47095

The MATTER. (2564). ของมันต้องมี รถดีต้องมีขับ: เจาะสเปกรถแค่ไหนถึงเรียกว่าพอดีสำหรับ Gen Y. สืบค้น มิถุนายน 10, 2567, จาก https://thematter.co/brandedcontent/cars-for-generation-y/144089

Abdullah, S. I. N. W., Samdin, Z., Teng, P., & Heng, B. (2019). The impact of knowledge, attitude, consumption values and destination image on tourists’ responsible environmental behaviour intention. Management Science Letters, 9(9), 1461-1476.

Ajzen, I. (1985). From intentions to actions: A theory of planned behavior. In J. Kuhl & J. Beckmann (Eds), Action Control: From Cognition to Behavior (pp. 11-39). New York: Springer-Verlag Berlin Heidelberg.

Akram, A., Merunka, D., & Akram, M. S. (2011). Perceived brand globalness in emerging markets and the moderating role of consumer ethnocentrism. International Journal of Emerging Markets, 6(4), 291–303.

Ayyildiz, H., Turna, G. B., & Eris, N. O. (2013). The impact of Product-Country-Image (PCI) on consumers’ behavioral intentions: A conjoint analysis of Swedish and Dutch Consumers’ perception of Turkish Products. European Journal of Research on Education, 2(1), 106-118.

Baresford Research. (n.d.). Age Range by Generation. Retrieved June 12, 2022, from https://www.beresfordresearch.com/age-range-by-generation/

Bartikowski, B., Fastoso, F., & Gierl, H. (2019). Luxury cars Made-in-China: Consequences for brand positioning. Journal of Business Research, 102, 288-297.

CISION PR Newswire. (2007). Chinese Brands are Coming to America. Retrieved May 10, 2022, from https://en.prnasia.com/releases/global/Chinese_Brands_Are_Coming_ to_America-1496.shtml

Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques (3rd ed). New York: John Wiley & Sons.

Darmawan, R. D., Samuel, H., & Wijaya, S. (2021). Country-of-origin image and its effect on purchase intention: A study on a Chinese smartphone brand. In 2nd International Conference on Business and Management of Technology (ICONBMT 2020) (pp. 308-314). Atlantis Press.

Ding L, & Yang, X. (2023). Attitudes, preference and personality in relation to behavioral intention of autonomous vehicle use: An SEM analysis. PLoS ONE 18(2): e0262899. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0262899

East, R., Wright, M., & Vanhuele, M. (2013). Consumer Behavior: Advance and Applications in Marketing. Thousand Oaks, CA: SAGE.

Erickson, G.M., Johansson, J.K., & Chao, P. (1984). Image variables in multi-attribute product evaluations: Country-of-origin effects. Journal of Consumer Research, 11(2), 694-699.

Fishbein, M. (1963). An Investigation of the Relationships between Beliefs about an Object and the Attitude toward that Object. SAGE Social Science Collections, 16(3), 209–231.

Han, C. M. (1989). Country image: Halo or summary construct?. Journal of Marketing Research, 26(2), 222-229.

Herbig, P. A. (1995). Marketing Japanese Style. London: Quorum Books.

Knight, G. A., & Calantone, R. J. (2000). A flexible model of consumer country‐of‐origin perceptions: A cross‐cultural investigation. International Marketing Review, 17(2), 127-145.

Kotler, P., & Armstrong. G. (2012). Principles of Marketing (14th ed). Boston: Pearson.

Kotler, P., & Gertner, D. (2002). Country as brand, product and beyond: A place marketing and brand management perspective. Journal of Brand Management, 9(5), 249-261.

Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 22(140), 5-55.

Mourali, M. (2005). The influence of country image structure on consumer evaluations of foreign products. International Marketing Review, 22(1), 96–115.

Nasri, W., & Charfeddine, L. (2012). Factors affecting the adoption of Internet banking in Tunisia: An integration theory of acceptance model and theory of planned behavior. The Journal of High Technology Management Research, 23(1), 1-14.

Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). The assessment of reliability. Psychometric Theory, 3, 248-292.

Papadopoulos, N., & Heslop, L. (2002). Country equity and country branding: Problems and prospects. Journal of Brand Management, 9(4/5), 294-314.

Sari, D., & Kusuma, B. (2014). Does luxury brand perception matter in purchase intention? A comparison between a Japanese brand and a German brand. ASEAN Marketing Journal, 4(1), 50-63.

Schiffman, L. G., Kanuk, L. L., & Wisenblit, J. (2010). Consumer Behavior (10th ed). Upper Saddle River, N.J: Pearson Prentice Hall.

Shahrokh, Z. D., & Azodi, A. D. (2013). The effect of country-of-origin image on brand equity and purchase intention. Journal of Applied Environmental and Biological Sciences, 3(12), 52-61.

Solomon, M. R. (2013). Consumer Behavior: Buying, Having, and Being. Boston: Pearson.

Tabachnick, B. G., & Fidell, L. S. (2013). Using Multivariate Statistics (6th ed). Boston: Pearson.

Thomas, T., Singh, N., & Ambady, K. G. (2020). Effect of ethnocentrism and attitude towards foreign brands in purchase decision. Vision, 24(3), 320-329.

Tobin, J. J. (Ed.). (1992). Re-made in Japan: Everyday Life and Consumer Taste in a Changing Society. New Haven, CT: Yale University Press.

Tulipa, D., & Muljani, N. (2015). The country of origin and brand image effect on purchase intention of smartphone in Surabaya-Indonesia. Mediterranean Journal of Social Sciences, 6(5 S5), 64-70.

Tunçel, N. (2022). Intention to purchase electric vehicles: Evidence from an emerging market. Research in Transportation Business & Management, 43, https://doi.org/10.1016/j.rtbm.2021.100764

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30