ประวัติศาสตร์กฎหมาย ศาล และกระบวนการยุติธรรมของไทย

Main Article Content

พรรณรัตน์ โสธรประภากร

บทคัดย่อ

การศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมาย ศาล และกระบวนการยุติธรรม จะทำให้เกิดความเข้าใจกฎหมาย ศาล และกระบวนการยุติธรรมของไทยที่ถูกต้อง และสามารถ        นำกฎหมาย และหลักกฎหมายไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เป็นธรรมเกิดประโยชน์แก่สังคม        ด้วยเหตุนี้ นักกฎหมายจึงควรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจประวัติความเป็นมาของกฎหมายศาล และกระบวนการยุติธรรมเป็นอย่างดี เนื่องจากกฎหมาย ศาล และกระบวนการยุติธรรม เป็นเครื่องมือที่ทำให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข อีกทั้งกฎหมาย ศาล       และกระบวนการยุติธรรม ยังมีความสัมพันธ์กับระบบการปกครองของแต่ละยุคแต่ละสมัย   อย่างแนบแน่น และยังเชื่อมโยง และมีความเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ และสังคมทั้งทางตรง และทางอ้อมอีกด้วย แต่เนื่องจากมีนักกฎหมายบางคนขาดความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์กฎหมาย จึงเข้าใจชื่อกฎหมาย และความหมายของกฎหมายผิดเพี้ยนไป จะทำให้นำกฎหมายไปใช้ไม่ถูกต้อง ใช้หลักกฎหมายผิดไปจากสิ่งที่ควรจะเป็น ดังนั้น ผู้เขียนเห็นว่าการศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายอย่างถูกต้อง จะทำให้นำกฎหมายไปใช้ได้อย่างถูกต้อง     จะทำให้สังคมทั่วไปได้รับประโยชน์ และได้รับความยุติธรรมสูงสุด

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1234/2523. [Online], เข้าถึงได้จาก https://deka.in.th/view-33667.html. สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน 2561.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1512-1515/2497. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศาลฎีกา, [Online], เข้าถึงได้จาก http://deka.supremecourt.or.th/search/index/569,สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2561.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1540/2531. [Online], เข้าถึงได้จาก https://deka.in.th/view-105305.html. สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน 2561.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1662/2505. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศาลฎีกา.[Online], เข้าถึงได้จากhttps://deka.in.th/view-45595.html. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2561.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1729/2512. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศาลฎีกา, [Online], เข้าถึงได้จาก https://deka.in.th/view-68103.html.สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2561.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 211/2552, [Online], เข้าถึงได้จาก http://deka.supremeco urt.or.th/sea rch /inde x/355, สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน 2561.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 45/2496. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศาลฎีกา.เข้าถึงได้จาก https://deka.in.th/view-80535.html. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2561.
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. (2548).บันทึกเรื่องการปกครองของไทยสมัยอยุธยาและต้นรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทยสมัยสุโขทัย. ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542.
พิชัย นิลทองคำ. (2558). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. กรุงเทพฯ: อฑิตยา จำกัด.
พิมพ์ใจ สระทองอุ่น. (2517). การร่างกฎหมายและกระบวนการนิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ:รามคําแหง.
ร.แลงกาต์. (2526). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย 2 มูลนิธิโครงการตำรา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
สถาบันปรีดี พนมยงค์. (2548). กฎหมายตรา 3 ดวง เล่ม 1 ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรังปรุงใหม่. กรุงเทพฯ: สุขกายใจ.
สมหมาย จันทร์เรื่อง. (2546). ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม, กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2552). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
DIDIER TRUCHET. (2003). La droit public. gue sais-je? PUF Paris.