แนวคิดของพุทธทาสภิกขุกับการออกมาจากวัตถุนิยม

ผู้แต่ง

  • เกียรติศักดิ์ ดวงจันทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

คำสำคัญ:

แนวคิด, พุทธทาสภิกขุ, การออกมาจากวัตถุนิยม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นการอธิบายแนวคิดของพุทธทาสภิกขุกับการออกมาจากวัตถุนิยม ด้วยวิธีการวิเคราะห์ สังเคราะห์จากหนังสือชุดธรรมโฆษณ์ของพุทธทาสภิกขุ

ผลการศึกษาพบว่า การออกมาเสียจากวัตถุนิยมต้องอาศัยธรรมนิยม มีสัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ โดยใช้หลักสัมมาทิฐิเป็นตัวนำไปสู่เป้าหมายในการดำเนินชีวิตที่ออกมาเสียจากวัตถุนิยมด้วยความตั้งมั่นอย่างแน่วแน่ ซึ่งต้องอยู่ในระดับสัจธรรมที่มีรากฐานบนยถาภูตสัมมัปปัญญา จึงทำให้รู้และเข้าใจว่า สิ่งทั้งหลายทั้งปวงมันเป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ หรืออีกนัยหนึ่งเมื่อมีสัมมาทิฐิ การสัมผัสก็เป็นแบบสัมมาทิฐิที่จะคอยควบคุมการปรุงแต่งด้วยความรู้ รู้สึกตัว และรู้เท่าทันว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวงมันเป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ เมื่อรู้และเข้าใจแล้ว ความเป็นตัวตนและความยึดมั่นในตัวตนก็จะไม่มี ความหลงใหลในวัตถุนิยมก็จะไม่มีตามไปด้วย

Author Biography

เกียรติศักดิ์ ดวงจันทร์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกียรติศักดิ์ ดวงจันทร์ สาขาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 

References

เกียรติศักดิ์ ดวงจันทร์. (2559). ปรัชญากับชีวิต. นครศรีธรรมราช: หจก.กรีนโซนอินเตอร์ 2001.

พุทธทาสภิกขุ. ธรรมสัจจสงเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2. สุราษฎร์ธานี: ธรรมทานมูลนิธิ, 2547.

พุทธทาสภิกขุ. บรมธรรมภาคต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. สุราษฎร์ธานี: ธรรมทานมูลนิธิ, 2541.

พุทธทาสภิกขุ. ปณิธาน 3 ประการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2549.

พุทธทาสภิกขุ. เมื่อธรรมครองโลก. สุราษฎร์ธานี: ธรรมทานมูลนิธิ, 2523.

พุทธทาสภิกขุ. ตุลาการิกธรรม เล่ม 3. สุราษฎร์ธานี: ธรรมทานมูลนิธิ, 2544.

วัชระ งามจิตรเจริญ. พุทธศาสนาเถรวาท. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.

Buddhadasa Bhikkhu. Early stage of Dhamma. 5th edition, Surat Thani: Thamma tan Foundation, 1998.

Buddhadasa Bhikkhu. Humanitarian. 3th. ed. Surat Thani: Thammatan Founda tion, 2003.

Buddhadasa Bhikkhu. True Dhamma. Bangkok: Ausom Garden Foundation, 1975.

Buddhadasa Bhikkhu. Secularism. 3th. Ed. Surat Thani: Thammatan Foundation, 1982.

Buddhadasa Bhikkhu. Early stage of Dhamma. 5th. ed. Surat Thani: Thammatan Foundation, 1998.

Buddhadhasa Bhikkhu. Missionary Training. In the 100th anniversary of the Bud dhadhasa Bhikkhu, Surat Thani: Tammatan Sang Tham Sapa Foundation, 2001.

Buddhadasa Bhikkhu. Faithfulness. 2nd. ed. Surat Thani: Tham matan Founda tion, 2004.

Buddhadasa Bhikkhu. True Dhamma. Bangkok: Ausom Garden Foundation, 1975.

Buddhadasa Bhikkhu. Secularism. 3th. ed. Surat Thani: Thammatan Foundation, 1982.

Buddhadasa Bhikkhu. Crowd Mock Age. (Book 1). Surat Thani: Thammatan Founda tion, 1982.

Buddhadasa Bhikkhu. Tulagariktham. (Book 1). 2nd ed. Surat Thani: Thammatan Foundation, 2002.

Buddhadasa Bhikkhu. Three Resolutions. 2nd ed Bangkok: Sukkapabjai, 2006.

Buddhadasa Bhikkhu. Tulagariktham. (Book 2), 2nd. ed. Surat Thani: Tham matan Foundation, 2000.

Buddhadasa Bhikkhu. Dharma is a matter of nature. Surat Thani: Thammatan Foundation, 2003.

Buddhadasa Bhikkhu. When the World Dominates. Surat Thani: Thammatan Foundation, 1980.

Buddhadasa Bhikkhu. Tulagariktham. (Book 3). Surat Thani: Thammatan Foundation, 2001.

Buddhadasa Bhikkhu. Apply Bodhipakkhiya-dhamma. Surat Thani: Thammatan Foundation, 2001.

Buddhadasa Bhikkhu. Mahidol Morals. 2nd. ed, Surat Thani: Thammatan Foun dation, 2002.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

12/28/2019

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ