บทความวิชาการ สิทธิชุมชน : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
-
คำสำคัญ:
สิทธิชุมชน, รัฐธรรมนูญ, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบทคัดย่อ
บทความฉบับนี้ มุ่งศึกษาแนวคิดว่าด้วยเรื่องสิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญ ความหมาย หลักการสำคัญ รวมถึงการยกตัวอย่างกรณีศึกษาการใช้สิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในมิติการจัดการทรัพยากรดิน น้ำ และป่าของชุมชนท้องถิ่น
สิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พุทธศักราช2550 และ พุทธศักราช 2560 ได้มีการส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในอำนาจอันชอบธรรมจัดการตนเองทุกมิติไม่ว่าจะเป็นการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ประเพณี วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ชุมชนมีระบบสวัสดิการที่มั่นคงบนฐานทุนทรัพยากร โดยมีปัจจัยสนับสนุน 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก และปัจจัยด้านการเงิน เพื่อให้ชุมชนสามารจัดการวางแผน จัดการองค์การ บังคับบัญชาประสานงาน และ ควบคุมการดำเนินงานด้วยกลไกการรวมกลุ่มเครือข่าย
อย่างไรก็ตามในการศึกษาแนวคิดสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้นควรมีการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงชุดความรู้ความจริงที่เป็นปรากฏการณ์ของชุมชนท้องถิ่นตามบริบทของพื้นที่ที่มีความเป็นลักษณะเฉพาะตัว
References
กาญจนา คุ้มทรัพย์. (2558).สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาป่าชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. 4(1).141-157.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. (2550). สิทธิของบุคคลซึ่งรวมกลุ่มกันเป็นชุมชน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
นิตยา โพธิ์นอก. (2557). ชุมชนกับสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
นพดล พลเสน. (2559). รัฐได้ประโยชน์อะไรของหลักสิทธิมนุษยชนจากการส่งเสริมสิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันรัฐธรรมนูญศึกษาสำนักงานศาลรัฐธรรมนญู.
บรรเจิด สิงคะเนติ. (2552). การใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว. วารสารนิติศาสตร์. 38. (2). 225 - 252.
บุญมี โททำ. (2563). สิทธิชุมชนในการจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้กรณีศึกษาป่าชุมชนบ้านดงยาง ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร.8.(4). 1452-1465
บุญยิ่ง ประทุม. (2551) พัฒนาการการบริหารงานตามหลักความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี องค์การบริหารส่วนตำบลเขาสามยอด จังหวัดลพบุรี . มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์/กรุงเทพฯ.
พิมรดา มณีอินทร์. (2558). สิทธิชุมชนในการจัดการป่าชุมชน : ศึกษากรณีป่าชุมชนบ้านโนนตูมถาวรอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีษะเกษ. วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ.
พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม และคณะ. (2559). สิทธิชุมชนกับกระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาบ้านคำไผ่-โนนสง่า จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการบริหารปกครอง. 5.(2).198-220.
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. (2552). สิทธิชุมชนมิติประมงพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.
ยศ สันตสมบัติ และคณะ. 2536. ป่าฝนเขตร้อนกับภาพรวมของป่าชุมชนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540. ราชกิจจานุเบกษา. 114 (11 ตุลาคม 2540).
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์.
รจนา คำดีเกิด. (2554). การศึกษาความตื่นตัวด้านสิทธิชุมชนในการบริหารจัดการและปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนลุ่มน้ำโขงจังหวัดอุบลราชธานี จากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนบ้านกุ่ม. วิทยานิพนธ์ ปริญญา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.
วรินทร์ลดา สืบดี และพระครูธรรมธรบุญเที่ยง ลักษณ์พลวงค์. (2564). กระบวนทัศน์ใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายภาคประชาชนเพื่อจัดการทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ. 6(2)364-378.
สนั่น ชูสกุล และคณะ (2550). โครงการสิทธิชุมชนศึกษาภาคอีสาน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
เสน่ห์ จามริก. (2547). สิทธิชุมชนในมุมมองระดับโลก (Community rights in global perspective). กรุงเทพฯ: สำนักคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
โสภา เดชรัตน์, ปรัชญเกียรติ ว่าโร๊ะ และรวยริน เพ็ชรสลับแก้ว. (2556). เจาะแผนพัฒนาภาคใต้. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2563). สิทธิชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2544). มิติชุมชน วิธีคิดท้องถิ่น ว่าด้วย สิทธิอำนาจและการจัดการทรัพยากร.กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. (2558). ชุมชนท้องถิ่นกับการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน. วารสารนักบริหาร. 35(1).104-113.
อรทัย อินต๊ะไชยวงค์. (2560). สิทธิชุมชน ในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น. 1.(1). 171-193.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ หรือเพื่อกระทำการใดๆจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่นก่อนเท่านั้น