พิธีกรรมการป้องกันโรคโควิด 19 ของชุมชนบ้านกิ่วท่ากลาง-ท่าใต้ หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง

Main Article Content

ธิดารัตน์ วงศ์จักรติ๊บ
ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ
ทัตพิชา สกุลสืบ

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและวิธีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างพิธีกรรมป้องกันโรคโควิด 19 ของชุมชนบ้านกิ่วท่ากลาง - ท่าใต้ หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ผลการศึกษาพบว่ามีองค์ประกอบทั้งหมด 5 องค์ประกอบได้แก่ 1. ความเชื่อ 2. ผู้ประกอบพิธีกรรม 3. ภาษา 4. ผลต่อจิตใจ และ 5. การใช้สัญลักษณ์ พิธีกรรมนี้เกิดจากการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีแต่เดิมผสานกับวัฒนธรรมต่างถิ่นเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและคลายความกังวลต่อโรค  โควิด 19

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. (2564). โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19), 7 มกราคม 2564. https://ddc.moph.go.th /viralpneumonia/situation.php

กรานต์จนาพร คําป้อม. (2549). พิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ของชาวบ้านหนองตูม ตำบลหนองตูม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น, ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. เลย.

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2554). เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา. พระนครศรีอยุธยา: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ทีมข่าว TCIJ. (2563). ชุมชนป้อมปราการต้าน COVID-19: เมื่อกลุ่มชาติพันธุ์จัดการตนเอง, 3 พฤษภาคม 2563. https://www.tcijthai.com/news/2020/5/scoop/10275

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2562) . วิเคราะห์ “ผีแม่ม่าย” ผ่านการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ - สังคม โดยนิธิ เอียวศรีวงศ์, 8 มกราคม 2564. https://www.silpa-mag.com/culture/article_41033

พระครูโพธิรัตนคุณ. (2550). ความเชื่อและพิธีกรรมการสะเดาะเคราะห์กรณี ศึกษาบ้านจาน ตำบลบ้านจาน อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์, ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ บุรีรัมย์. บุรีรัมย์.

สยามรัฐออนไลน์. (2563). ความเชื่อส่วนบุคคล ห้อยเสื้อแดงวางสะตวงกันโรคร้าย, 19 สิงหาคม 2563. https://siamrath.co.th/n/145712

สุกัญญา อุดแคว,ศิริรัตน์ บุญสำอาง และภาณุวัฒน์ สกุลสืบ. (2563). การศึกษาองค์ประกอบของพิธีกรรมในพิธีแต่งงานของชาวปกาเกอะญอหมู่บ้านสันโป่ง ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง, วารสารมังรายสารสถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 8(1), 15-28.

ศรีเลา เกษพรหม. (2542). สวยดอกไม้, สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. (เล่มที่ 13, หน้า 6670). กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย.

ศรีเลา เกษพรหม. (2542). สะทวง, สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. (เล่มที่ 13, หน้า 6698). กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย.

หมอชาวบ้าน. (2540). กะเพรา ผักพื้นบ้านและพืชศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู, 8 มกราคม 2564. https://www.doctor.or.th/article/detail/3967

อภิลักษณ์ เกษมผลกูลและสินีกานต์ แก้วกัณหา. (2563). รูปแบบและบทบาทความเชื่อในสถานการณ์ไวรัสโคโรนา : การศึกษาความเป็นพหุวัฒนธรรมในสังคมไทย, วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(3), 260-286

องค์กรอนามัยโลก. (2563). คำถามและคำตอบของรคไวรัสโคโรนา 2019, 19 สิงหาคม 2563.https://tmc.or.th/pdf/tmc_knowlege-26.pdf?fbclid=IwAR07QHCaJ3dkMI83_ AS0FBgbGRTr_9jadmeEBkHfDNxTTGPV5L8AIh8EQcI

องค์ บรรจุน. (2562). “สีแดง” ในวัฒนธรรมนานาชาติ ที่ไม่ได้สื่อความหมายมงคล, 6 กุมภาพันธ์ 2564. https://www.silpa-mag.com/culture/article_41869?Fbclid =IwAR3uYRMvs16XuvL6Uj3Hd4_1vlKcdbtuPbDhakaj_44370Hb4OgW5JHg9Vw

อมร ลีลารัศมี. (2563). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อ COVID -19 จากเชื้อไวรัส SARS- COV-2, 6 สิงหาคม 2563. https://tmc.or.th/covid19/Download/pdf/tmccovid1919.pdf