เศรษฐศาสตร์ เพศสถานะ และชายขอบ: จุดเริ่มต้นและทางออกในนวนิยายเรื่องเลือดข้นคนจาง ของ ฤทัยวรรณ วงศ์สิรสวัสดิ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งพิจารณาประเด็นการเรียกร้องเรื่องสิทธิทางเพศของผู้หญิงในระบบการบริหารธุรกิจแบบกงสีผ่านบทบาทของตัวละคร “ภัสสร” ในนวนิยายเรื่องเลือดข้นคนจาง การเรียกร้องดังกล่าวทำให้ภัสสรต้องขัดแย้งกับครอบครัวอย่างรุนแรง และทำให้เธอตกเป็นผู้ต้องสงสัยในคดีฆาตกรรม เมื่อพิสูจน์ได้ว่าเธอเป็นผู้บริสุทธิ์ ผู้นำกงสีรุ่นใหม่ซึ่งได้รับอิทธิพลความคิดแบบทุนนิยมสมัยใหม่เช่นเดียวกับเธอได้ปฏิรูปเกณฑ์การจัดสรรทรัพยากรภายในกงสีใหม่ตามข้อเรียกร้องของเธอ ส่งผลให้สมาชิกทุกคนทั้งชายและหญิงมีสิทธิ์เข้าถึงผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมังรายสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารมังรายสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมังรายสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารมังรายสารก่อนเท่านั้น
References
กฤษณะ แซ่ตั้ง. (2548). การศึกษาระบบการจัดการแบบกงสี: กรณีศึกษาธุรกิจกงสี. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
เกษม ปราณีธยาศัย. (2544). ผู้ชายในครอบครัวจีน กรณีศึกษา: ครอบครัวคนจีนแต้จิ๋วในตำบลมหาชัย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ.
จุฑาลักษณ์ จันทวงษ์ ภันทิลา กนกวลี และขวัญชนก นัยจรัญ. (2563). เลือดข้นคนจาง: การวิเคราะห์สถานภาพและบทบาทของตัวละครที่ส่งผลต่อระบบความคิดของสตรีในครอบครัวคนจีนพลัดถิ่น. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์, 15 (2), 201-218.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2555). ปิตาธิปไตย: ภาพสะท้อนแห่งความไม่เสมอภาคระหว่างชายหญิงในสังคมเอเชีย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 4 (2), 30-46.
ธัญญา สังขพันธานนท์. (2559). แว่นวรรณคดี ทฤษฎีร่วมสมัย. ปทุมธานี: นาคร.
นิโลบล วงศ์ภัทรนนท์. (2564). จาก ลอดลายมังกร สู่ เลือดข้นคนจาง: การนำเสนออัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมความเป็นชาวไทยเชื้อสายจีนในละครโทรทัศน์ไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 29 (2), 76-103.
บุณยนุช สุขทาพจน์. (2562). แนวคิดทฤษฎีการเล่าเรื่องกับค่านิยมคนไทยเชื้อสายจีนในละครโทรทัศน์เรื่องเลือดข้นคนจาง. สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยศรีปทุม. เอกสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10, 746-754.
พิชชารัศมิ์ ศรีพิทักษ์สกุล. (2563). ผู้หญิงเก่งธุรกิจญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: มติชน.
มอนเทจ คัลเชอร์. (2551). ประตูสู่วัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
ฤทัยวรรณ วงศ์สิรสวัสดิ์. (2562). เลือดข้น คนจาง. กรุงเทพฯ : มติชน.
วรศักดิ์ มหัทธโนบล (2561). มองวัฒนธรรมจีนผ่าน “เลือดข้นคนจาง”. [สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2564]. ได้จาก https://www.chula.ac.th/cuinside/13320.
วรินธร เบญจศรี. (2549). การวิเคราะห์เพศสภาพที่ปรากฏในนิตยสารไทย. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่
วีรวัฒน์ อินทรพร. (2562). วรรณคดีวิจารณ์. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุริชัย หวันแก้ว. (2546). กระบวนการกลายเป็นคนชายขอบ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.