จากงานชาติพันธุ์วรรณาของมิชชันนารีสู่งานเขียนชาตินิยม: กรณีศึกษา “The Tai Race: Elder Brother of the Chinese”

Main Article Content

ดารุณี สมศรี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนตัวบทของงานเขียนเรื่อง “The Tai Race: Elder Brother of the Chinese” และบริบททางประวัติศาสตร์ที่ก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนดังกล่าว ใช้การศึกษาด้วยการวิเคราะห์ตัวบท โดยศึกษาจากงานเขียนเรื่อง “The Tai Race: Elder Brother of the Chinese” ของวิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ (William Cliffton Dodd) และงานที่ได้รับการแปลและเรียบเรียงเป็นภาษาไทยตั้งแต่ทศวรรษ 2460-2510
ผลการศึกษาพบว่าการแปลงานชิ้นนี้จากภาษาอังกฤษสู่ภาษาไทยในระหว่าง พ.ศ.2467-2474 มีการเลือกแปลเฉพาะเนื้อหาที่สัมพันธ์กับคนไทย มีการใช้ “ไทย” แทนที่ “ไท” และเน้นที่ความเป็นชนชาติและชาติพันธุ์ สร้างคำอธิบายเกี่ยวกับชนชาติไทยเพิ่มเติมลงในเนื้อหา รวมทั้งการอธิบายโดยนำความเป็น รัฐชาติสมัยใหม่เพิ่มในตัวบท ก่อให้เกิดวาทกรรมเรื่อง “ความยิ่งใหญ่ของชนชาติไทย” และสอดคล้อง กับนโยบายการสร้างรัฐชาติแบบใหม่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 และนโยบายชาตินิยมของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2563). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มติชน

คำชี้แจงของสภาวัธนธัมแห่งชาติ เรื่องโทสของการกินหมาก. (2486). ใน ประมวนวัธนธัมแห่งชาติ. (หน้า 75-81). พระนคร: กรมโคสนาการ.

ฉลอง สุนทราวาณิชย์. (2533). ถิ่นกำเนิดชนชาติไทย : สมมติฐานของนักวิชาการตะวันตก. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประจำปี 2533 เรื่อง ชนชาติไทย : คำถามที่ต้องช่วยกันตอบ วันที่ 18-19 ตุลาคม 2533 ณ ห้อง 116 ตึกอักษรศาสตร์ 1 คณะอักษรศาสตร์ และห้องประชุมสารนิเทศ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มปท.

ชาลี เอื้อไพบูลย์. (2555). ความสัมพันธ์เชิงอํานาจระหว่างมิชชันนารีอเมริกันกับกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ในสังคมเชียงใหม่ พ.ศ. 2410-2484. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.

เตือนใจ ไชยศิลป์. (2539). ล้านนาในการรับรู้ของชนชั้นปกครองสยาม พ.ศ. 2437-2476. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ

ทองแถม นาถจำนง. (2552). “ชนชาติไทย” ของหมอด็อดด์ในการรับรู้ของคนไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง : จดหมายเหตุ-ประวัติศาสตร์-นิเวศวิทยา-ชาติพันธุ์ วันที่ 26-27 กุมภาพันธุ์ 2552 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ จังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2552). อ่าน Imagined Communities ของ Benedict Anderson หรือ IC ของ “ครูเบ็น”. วารสารศิลปศาสตร์. 9(1), 163-188.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2552). จดหมายเหตุของหมอด็อดด์ในการรับรู้ของคนไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง : จดหมายเหตุ-ประวัติศาสตร์-นิเวศวิทยา-ชาติพันธุ์ วันที่ 26-27 กุมภาพันธุ์ 2552 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ จังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ประสิทธิ์ พงศ์อุดม. (2533). การถ่ายทอดวิทยาการตะวันตกในสังคมไทย : ศึกษาบทบาทของมิชชันนารีโปรเตสแตนด์ระหว่าง พ.ศ. 2371-2411. วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

ประสิทธิ์ พงศ์อุดม. (2550). มิชชันนารีอเมริกันกับการสร้างชุมชนชาวคริสต์ในล้านนาช่วงสมัยของการปรับเปลี่ยนทางสังคม พ.ศ.2410 – 2467. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

ประมวลเรื่องชนชาติไทย. (2512). กรุงเทพฯ: กรุงเทพวัฒนภูมิ.

ปาฐกถาของผู้แทนราษฎรจังหวัดต่าง ๆ. (2539). กรุงเทพฯ: สมาคมมิตรภาพญี่ปุ่น-ไทย.

ปัญญานันทะ, พระ. (2498). ค้ำโพธิ์. ใน ชุมนุมปาฐกถาของภิกขุปัญญานันทะ เล่ม 2. (หน้า 154-207). พระนคร: คลังวิทยา.

แมคกิลวารี, เดเนียล. (2544). กึ่งศตวรรษในหมู่คนไทยและคนลาว : อัตชีวประวัติของศาสนาจารย์เดเนียล แมคกิลวารี ดี.ดี. กรุงเทพฯ: มติชน

สายชล สัตยานุรักษ์. (2545). ความเปลี่ยนแปลงในการสร้างชาติไทยและความเป็นไทยโดยหลวงวิจิตรวาทการ. กรุงเทพฯ: มติชน

หลวงนิเพทย์นิติสรรค์. (2467). ไทยในมณฑลเสฉวนและไกวเจา. วิทยาจารย์, 25(3), 159-175.

หลวงนิเพทย์นิติสรรค์. (2468). ไทยในมณฑลยูนนานและกวางซี (ต่อ). วิทยาจารย์, 25(11), 784-814.

หลวงนิเพทย์นิติสรรค์. (2474). ชนชาติไทย. มปท.

หลวงนิเพทย์นิติสรรค์. (2482). ไทย. พระนคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หลวงนิเพทย์นิติสรรค์. (2483). ไทย. พระนคร: กระทรวงการต่างประเทศ.

หลวงนิเพทย์นิติสรรค์. (2520). ชนชาติไทย. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

หลวงวิจิตรวาทการ. (2499). งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย: ทำสำหรับใช้ในราชการของกรมประมวลข่าวกลาง. พระนคร: โรงพิมพ์ตำรวจ.

หลวงวิจิตรวาทการ. (2504). งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย. พระนคร: กรมประมวลข่าวกลาง. อนุสรณ์ครบรอบ ๑๐๐ ปี ฯพณฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม. (2540). กรุงเทพฯ: ศูนย์กลางทหารปืนใหญ่.

อุ่นใจ ปฏิมาประกร. (2549). บทบาทของมิชชันนารีอเมริกันในการจัดการศึกษาสตรีไทย: กรณีศึกษาโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ระหว่าง พ.ศ. 2417-2500. สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.

Anderson, Benedict. (2006). Imagined communities: reflections on the origin and spread of nationalism. London; Verso, 2006

Chaisingkananont, Somrak. (2012). Notion of Ethnicity as State, Ethnology, and the Zhuang. Journal of Sociology and Anthropology. 31(2), 13-52.

Chaloemtiarana, Thak. (1979). Thailand: The Politics of Despotic Paternalism. Bangkok: Thammasart University Press.

Conroy-Krutz, Emily. (2015). Christian Imperialism: Converting the World in the Early American Republic. Ithaca and London: Cornell University Press.

Dodd, William Clifton. (1996). The Tai Race -The Elder Brother of the Chinese. Bangkok: White Lotus.

Ivarsson, Soren. (2008). Creating Laos: The Making of a Lao Space Between Indochina and Siam, 1860-1945. Copenhagen: NIAS Press.

Reynolds, Craig. (2005). “Nation and State in Histories of Nation Building, WITH Special Reference to Thailand.” in Nation-Building: Five Southeast Asian Histories. (pp. 21-38). Singapore: Singapore University Press.

Samudavanija, Chai-anan. (1991). “State-Identity Creation, State-Building and Civil Society.” in National Identity and Its Defenders: Thailand, 1939-1989. (pp.50-70). Clayton: Centre of Southeast Asian Studies, Monash University.

Swanson, Herbert. (1982). The Kengtung Question: Presbyterian Mission and Comity in Eastern Burma, 1896-1913. Journal of Presbyterian History 60(1), 59-79.