การเปรียบเทียบสุภาษิตลาว และสุภาษิตจีนที่แสดงออกทางวัฒนธรรม

Main Article Content

Thong-Bay Sivilay

บทคัดย่อ

  การพัฒนาความสัมพันธ์และร่วมมือระหว่างสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กับสาธารณรัฐประชาชนจีนภายใต้ยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความร่วมมือในการก่อสร้างทางรถไฟลาวจีน แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศลาว-จีนได้จับมือแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ดังนั้น การทำความเข้าใจสุภาษิตที่มีเนื้อหาที่แสดงออกทางวัฒนธรรมอันหลากหลายไปด้วยวัฒนธรรมชนเผ่า และแสดงออกทางวิถีชีวิตทางสังคม ซึ่งมีเนื้อหาในการเปรียบเทียบและการนำใช้ที่กว้างขวาง แต่ในด้านการแปลสุภาษิตลาวเป็นภาษาจีนหรือการแปลภาษาสุภาษิตจีนมาเป็นภาษาลาวยังเป็นการยากสำหรับนักศึกษาที่จะเรียนรู้ และเข้าใจความหมายอย่างแท้จริง บทความนี้ ดำเนินการวิเคราะห์และจำแนกประเภทสุภาษิตจีนและลาวในรูปแบบของภาพรวมโดยทั่วไป จากนั้นนำภาพรวมไปสู่ตัวอย่างเฉพาะเจาะจงและวิเคราะห์เชิงลึกผลการวิเคราะห์ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างของสุภาษิตจีนและลาว รวมทั้งการค้นพบแนวโน้มการหาจุดร่วมทางวัฒนธรรมระหว่างสุภาษิตของทั้งสองประเทศบนพื้นฐานในการปกป้องลักษณะพื้นฐานของสุภาษิตทั้งสองประเทศ เพื่อช่วยให้เกิดการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมเป็นไปอย่างสะดวกยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Baiyun. (2006). “Unique Semantic Elements of Chinese Proverbs”. Liaocheng University Journal: Social Sciences Edition.

Luo Shenghao. (2003). “Discussing Chinese Proverbs”. The Philosophy and Social Sciences Edition of the Sichuan University Journal.

Laotian Proverbs. (2016). Retrieved from http://vcanfly.blogspot.com/2012/11/blog-post_30.html.

Mahasila VILAVONG. (2000). “Ancient Laotian Proverbs”.Laos Educational Publishing House.

Shangxuefeng,Xiedekao. (2007). “Chinese Classical Collection - Mandarin”.Chinese Publishing House. December.

Yangyan. (2007). “Chinese proverbs Encyclopedia (Zhonghua Yanyu Daquan)”.China Encyclopedia. Publishing House.( January. 2007)

Qinmu. (1990). “Dictionary of Practical Quotes” . Guangxi People's Publishing Hous. (May.1990).

Thongbay SIVILAY. (2013) “Laotiane Four-syllable Words and Their Statistical Research”, Beijing Minzu University of China’s Master's Thesis.

Thongbay SIVILAY. (2016) .“The Worldview of Laotian Leaders”.White College Journal.

Thongbay SIVILAY. (2017). Jiangyafei.“Laotian Four-syllable Words and Its Cultural Connotation”. White College Journal.

Wang Hongyan. (2003). “An Analysis of Unique Syntax and Forms of Chinese Proverbs”.Guangxi Social Sciences.

Zhang Liangmin. (2001). “The Application of Laotian Grammar”.Beijing Foreign Language Education and Research Publishing House.