การสร้างพื้นที่ทางสังคมของม้งดอยยาว ดอยผาหม่น จังหวัดเชียงราย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความทางวิชาการนี้นำเสนอถึงความเป็นมาของม้งดอยยาว ดอยผาหม่น จังหวัดเชียงราย ถูกสร้างเงื่อนไขให้เข้าร่วมกับพรรคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยต่อสู้กับอำนาจรัฐ และกลับมาเป็นผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย การกลายเป็นคนชายขอบของม้ง เกิดจากอดติทางเชื้อชาติ การใช้พื้นที่ทำการเกษตรบนภูเขาสูง ถูกมองว่าเป็นต้นเหตุของการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ และการยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
จากนโยบายรัฐที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ป่าไม้ และการเพิ่มปริมาณพื้นที่ป่าไม้ซึ่งทับซ้อนกับพื้นที่ทำการเกษตรของม้ง ม้งดอยยาว ดอยผาหม่น จึงสร้างพื้นที่ทางสังคมผ่านทางประวัติศาสตร์ความเป็นมา และการรวมกลุ่มแสดงการขัดขืนต่อนโยบายรัฐ ใช้วิธีการเผยแพร่กิจกรรมโดยสื่อมวลชน และสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสร้างการประเด็นการรับรู้ต่อสังคม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
รายละเอียดของลิขสิทธ์
References
วารสารวิวิธบรรณสาร.2(1): 111-128.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2561).นิเวศวิทยามนุษย์:การศึกษาสิ่งแวดล้อมในมิติของสังคมและวัฒนธรรม.เชียงใหม่ : ศูนย์บริหาร
งานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร.( 2545). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่.(พิมพ์ครั้งที่ 12) .กรุงเทพฯ :วิภาษา.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร.(2561).อำนาจไร้พรมแดน:ภาษา วาทกรรม ชีวิตประจำวัน และโลกที่เปลี่ยนแปลง.กรุงเทพฯ :
วิภาษา
แทนธัญ ธรรมวิวรณ์ .(2558).การสร้างพื้นที่การต่อรองในการทำงานของแรงงานข้ามชาติ:กรณีศึกษา แรงงานข้ามชาติ
ภาคการก่อสร้าง จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต :มหาวิทยาลัย แม่โจ้.
ธนิกา เนาวรัชต์ และชุลีรัตน์ เจริญพร.(2563). “การเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่ในการคัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าจากก๊าซ
ธรรมชาติบางคล้า”วารสารนวัตกรรมสังคม.3(1): 106-120.
ธนุพงษ์ ลมอ่อน.(2554).การสร้างพื้นที่ทางสังคมของชาวขมุในอำเภอเวียงแก่นภายใต้บริบทของการเป็นคนชายขอบ.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต :มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นราธร สายเส็ง.(2560). “ธรรมชาติของมนุษย์ในพื้นที่”Varidian E Journal,Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขา
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ.10(1): 635-646.
ประสิทธิ์ ลีปรีชา.(2561).ชาติพันธุ์สัมพันธ์กับความมั่นคงในพื้นที่ชายแดนภาคเหนือของไทยและลาว.รายงานการวิจัย :
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
ปองปราถน์ สุนทรเภสัช.(2563). “อคติทางชาติพันธุ์ต่อสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในสังคมไทยที่ปรากฏในสังคม
สื่อออนไลน์ เว็บบอร์ดพันธ์ทิพย์”วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.15(1) :26-47.
พัชรี กล่อมเมือง.(2562). “คนชายขอบ:ชาวไทยเชื้อสายมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย
กรุงเทพธนบุรี.8(2) :1-10.
มุทิตา เจริญสุข.(2562).แนวร่วมของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย.วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต :
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วาสนา ละอองปลิว.(2546).ความเป็นคนชายขอบและการสร้างพื้นที่ทางสังคมของคนพลัดถิ่น:กรณีศึกษาชาวดาระอั้ง
ในอำเภอเชียงดาว.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต :มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศิริสมภพ จิตร์ภิรมณ์ศรี(2553).ทำความเข้าใจสงครามความคิด :ความเป็นจริงทางสังคม พื้นที่ทางสังคม และการต่อสู้
ทางการเมืองเพื่อครองอำนาจทางสัญลักษณ์.http://www.deepsouthwatch.org/th/node/786.1
พฤศจิกายน 2564.
สิทธิเดช วงศ์ปรัชญา.(2550).ชนกลุ่มน้อยชาวไทยภูเขากับความมั่นคงของชาติ:กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ม้ง.วิทยานิพนธ์
ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต :มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุทธิสุนทร ซ้ายขวัญ.(2544).ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการควบคุมกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงของข้าราชการตำรวจ กอง
กำกับการป้องกันและปราบปรามจราจล.วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยามหาบัณฑิต :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพิชชา โตวิวิชช์.(2564). “กระบวนการสร้างสรรพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม และการเอื้อให้เกิดพื้นที่ทางสังคม:กรณีศึกษาชุมชน
ย่านคลองบางหลวง”ใน สันต์ สุวัจฉราภินันท์.(บ.ก.).สำรวจพื้นที่ทางสังคม:อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพ
ตัวแทน.(น.3-69).สยามปริทัศน์.
อภิญญา ดิสสะมาน และ ธาตรี นนทศักดิ์.(2563). “นวัตกรรมสันติวิธี :วิจัยฐานข้อมูลพื้นที่ความขัดแย้ง”วารสารอารยธรรม
ศึกษา โขง-สาละวิน.11(2) :223-240.
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล.(2561).อัตลักษณ์ การทบทวนทฤษฎี และกรอบแนวคิด.เชียงใหม่ :วนิดาการพิมพ์.
สัมภาษณ์
ทูลสวัสดิ์ ยอดมณีบรรพต.(สัมภาษณ์ :2564)