The การวิเคราะห์โครงเรื่องภาพยนตร์ “ชีวิตอัศจรรย์ของเบนจามิน บัตตัน” กับโรคฟาร์ซินโดรมสู่การระลึกถึงความตาย(มรณานุสติ)

Main Article Content

พัชนี แสนไชย

บทคัดย่อ

โลกของภาพยนตร์ถูกสร้างขึ้นมาทำหน้าที่ของมันในหลากหลายมิติ อีกหนึ่งมิติคือ การเชื่อมโลกของภาพยนตร์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริง โดยมนุษย์สามารถได้รับบทเรียนเหล่านั้นได้จากภาพยนตร์ อย่างเรื่อง The Curious Case of Benjamin Button: ชีวิตอัศจรรย์ของเบนจามิน บัตตัน เป็นภาพยนตร์ที่ชนะรางวัลออสการ์ถึง 3 รางวัล  ภาพยนตร์ได้สะท้อนเรื่องราวและการตระหนักเห็นถึงคุณค่าของชีวิต การเกิด แก่ เจ็บ ตาย แค่เปลี่ยนมุมมองจากวัยชราสู่วัยทารก และมุ่งหน้าสู่ความตายได้เช่นเดียวกันทุกวัย


โครงสร้างการเล่าเรื่องของภาพยนตร์ (Narration of film) มีการวางโครงเรื่องและวิธีคิด ทั้งการออกแบบตัวละคร แก่นเรื่อง(Theme) ความขัดแย้ง(Conflict)ทั้งหมดอยู่บนพื้นฐานของหลักคำสอนศาสนา เช่น การเชื่อและศรัทธาในพระเจ้า ความรักแบบไม่ต้องครอบครอง การปล่อยวาง การเข้าใจสัจธรรมของโลกใบนี้ ดังเช่น ประโยคที่ว่า  We all die in diaper (เราทุกคนก็ตายในผ้าอ้อมกันทั้งนั้น)โรคที่ตัวละครเบนจามิน บัตตัน ป่วย คือ โรควัยชราในเด็ก(Progeria) ส่งผลทำให้เด็กคนดังกล่าวมีสภาพคล้ายคนแก่


จากโรคที่ป่วยในภาพยนตร์สู่โรคแห่งความเป็นจริงโดยมีผู้ป่วยมีลักษณะอาการคล้ายๆที่ตัวละครป่วย โดยโรคดังกล่าวสามารถหาข้อมูลและสืบค้นข้อมูลได้หลากหลายและมีข้อมูลที่เป็นภาษาไทย แต่ยังมีอีกหนึ่งโรคที่มีลักษณะคล้ายๆกันแต่เกิดขึ้นทางสมองของมนุษย์และไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง คือ โรคฟาร์ซินโดรม(Fahr Syndrome)ความไม่รู้เกี่ยวกับโรค คือ ความน่ากลัวรูปแบบหนึ่ง สิ่งเดียวที่จะทำได้ คือ การยอมรับในความเป็นจริงและใช้วิธีคิดแบบในแก่นภาพยนตร์(Theme)การเห็นคุณค่าของชีวิต การเผชิญหน้ากับความจริง สุดท้ายมนุษย์ทุกคนต้องพลัดพลากและต้องตาย ไม่ว่าผู้นั้นจะป่วยหรือไม่ป่วย เด็กหรือผู้ใหญ่ ทุกคนย่อมเดินทางสู่สนามแห่งความตายเช่นเดียวกันทุกคน โดยใช้หลักการคิดแบบมรณานุสติ(การระลึกถึงความตาย)เป็นเครื่องมือช่วยนำทางสู่ความตาย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คึกฤทธิ์ โสตถิผโล. (2557). พุทธวจน มรณานุสติ. สืบค้นจาก
https://www.youtube.com/watch?v=9JjiuX3drwg.

คึกฤทธิ์ โสตถิผโล. (2554). พุทธวจน อินทรียสังวร. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธโฆษณ์.

ฉลองรัตน์ ทิพย์พิมาน. (2539). วิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่องในภาพยนตร์อเมริกันที่มี
ตัวเอกเป็นสตรี. (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ณิชชา จุนทะเกาศลย์ (2559). รูปแบบและกลวิธีการสื่อธรรมนิยายของทมยันตี. (ปริญญา.
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

นิวัฒน์ ศรีสัมมาชีพ. (2551). คิดและเขียนให้เป็นบทภาพยนตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
ตะวันออก จำกัด(มหาชน).

บุญส่ง นาคภู่ (ผู้กำกับ). (2559). ธุดงควัตร [ภาพยนตร์]. ไทย: ปลาเป็น ว่ายทวนน้ำ.
Plapen Wai Thuan Nam Film Studio.

พุทธทาสภิกขุ. (2548). สิ่งที่เรียกว่า “คน”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค
จำกัด.

รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม. (2555). ภาพยนตร์ศิลปะ สตรีนิยมในสายตาชาย.(วิทยานิพนธ์
ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ว. วัชรเมธี. (2561). บทความมรณานุสติภาวนา(การระลึกถึงความตาย). ชีวจิต.
สืบค้นจาก https://goodlifeupdate.com/healthy-mind/dhamma/3567.html.

อะเดย์. (2561). ตายก่อนตาย. สืบค้นจาก https://adaymagazine.com/die-before-
die?fbclid=IwAR1jS9i3iW3_5YYWDDhRJlAVBkM-TQ34y0bjRoD-
XyyunS3OuGw5hHZeJQc.

Cean Chaffin, Kathleen Kennedy, Frank Marshall. (Producer). David
Fincher. (Director). The Curious Case of Benjamin Button. Paramount
Pictures & Warner Bros. Picture.

EndocrineAbstracts. (2018). Remember calcium! Fahr's syndrome
diagnosed after repeated generalized seizures: a case report.
Retrieved from https://www.endocrine-
abstracts.org/ea/0029/ea0029p261.

EndocrineAbstracts. (2018). Remember calcium! Fahr's syndrome
diagnosed after repeated generalized seizures: a case report.
Retrieved from https://www.endocrine-
abstracts.org/ea/0029/ea0029p261.

Karl Baumgartner. (Producer). Ki-duk Kim. (Director). Spring, Summer, Fall,
Winter… and Spring (2003). A Sony Pictures Classics Release.

NIH National Institute of Neurological Disorders and Stroke. (2018). Fahr's
Syndrome Information Page. Retrieved from
https://www.ninds.nih.gov/Disorders/All-Disorders/Fahrs-Syndrome-
Information-page.

PMC US National Library of Medicine National Institutes of Health. (2018).
Fahr’s Syndrome- An Interesting Case Presentation. Retrieved from
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3616573/.

PMC US National Library of Medicine National Institutes of Health. (2018).
Fahr’s syndrome: literature review of current evidence. Retrieved
from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3853434/.

ROTTENTOMATO, (2018). The Curious Case of Benjamin Button. Retrieved
From https://www.rotentomatoes.com/m/curious_case_benjamin_
Button/.

ScienceDirect. (2018). Fahr's Syndrome. Retrieved from
https://www.scienedirect.com/topics/medicine-and-dentistry/fahrs-
syndrome.

Soi Cheang. (Producer & Director). The Monkey King. Well Go Use
Entertainment Filmko Film Co., LTD. Filmko Picture(Hong Kong)Co.,
Limited.

Stefan Arndt, Grant Hill. (Producer). Lana Wachowsk, Tom Tykwer,
Lilly Wachowskii(Director). Cloud Atlas (2012). Warner Bros.
Pictures.

A Day. (2018). Die before Die. Retrieved from
https://adaymagazine.com/die- before- die?fbclid=IwAR1jS9i3iW3
_5YYWDDhRJlAVBkM-TQ34y0bjRoD-XyyunS3OuGw5hHZeJQc. [in Thai]

Boonsong Nakphoo. (Diretor). (2016). Wondering [Film]. Thai: Plapen Wai
Thuan Nam Film Studio. [in Thai]

Chalongrat Tippiman. (1996). An Analysis of Narrative Structure in
American Women’s Films. Thesis of mass communication
Chulalongkorn university. [in Thai]

Kukrit Sothipalo. (2014). Buddhawajana Muhammed Consciousness.
Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=9JjiuX3drwg.

Kukrit Sothipalo. (2011). Buddhawajana Organic Wary. Bangkok:
Buddhakos.org. [in Thai]

Nichcha Chundakowsolaya. (2016). A Model and Communication
Techniques in Tamayanti’s Dhamma Novels. Dissertation of Doctor of
Philosophy Mahachulalongkornrajavidyalaya University. [in Thai]

Niwat Srisummacheef. (2007). Think and Write a Screenplay. Bangkok :
Rongpimtawanoak Company Limited. [in Thai]

Raksarn Wiwatsinudom. (2012). Art Film : Feminism on Men’s View. A
Dissertation of Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and
Applied Arts Chulalongkorn University. [in Thai]

W. Vajiramedhi. (2018). Journal of Muhammed Consciousness. Chiwajit.
Retrieved from https://goodlifeupdate.com/healthy-
mind/dhamma/3567.html. [in Thai]