พฤติกรรมการเลียนแบบ สัมพันธภาพในครอบครัว ทักษะชีวิตกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ขวัญชนก เคนสี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับพฤติกรรมการเลียนแบบ สัมพันธภาพในครอบครัว ทักษะชีวิตกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานครตามปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเลียนแบบกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสัมพันธภาพในครอบครัวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะชีวิตกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร จำนวน 312 คน แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-test (ค่าความแปรปรวนทางเดียว) การเปรียบเทียบเป็นรายคู่โดยวิธี LDS และค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ Pearson


ผลการศึกษาพบว่า 1) สัมพันธภาพในครอบครัว และทักษะชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนพฤติกรรมการเลียนแบบ และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานครที่มีเพศ ผลการเรียนและการพักอาศัยแตกต่างกันมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) พฤติกรรมการเลียนแบบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 4) สัมพันธภาพในครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และ 5) ทักษะชีวิตไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2560). หนุนวัยรุ่นปรับมุมมองทางเพศ. สืบค้นจาก
http://www.thaihealth.or.th/Content/36902.

กรุงเทพธุรกิจ. (2560). แม่วัยทีน เรื่องท้องที่สังคมต้องรับ (รู้). สืบค้นจาก
http://www.thaihealth.or.th/Content/37852.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2560). สถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นประเทศไทย
ปี พ.ศ.2558 โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์. (2560). นายแพทย์. สัมภาษณ์, 14 กุมภาพันธ์ 2560.

ฐิตารีย์ เธียรสุทัศน์. (2557). ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตทาง
เพศศึกษาต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการป้องกันความเสี่ยงทางเพศของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบางหลวงวิทยา จังหวัดนครปฐม.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นิชรา เรืองดารกานนท์. (2560). รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สัมภาษณ์,
15 พฤศจิกายน 2560.

นงลักษณ์ เอมประดิษฐ์ และคณะ. (2540). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บรรจง พลไชย. (2554). พฤติกรรมทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียน
มัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในเขตเทศบาลเมืองนครพนม. วารสารศูนย์การศึกษา
แพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 28(4), 231-232

เบญจวรรณ แสงอรุณ. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมี
เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของเด็กวัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

ปัญญ์กรินทร์ หอยรัตน์ และ ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2560). วัยรุ่นไทยกับการมีเพศสัมพันธ์
ก่อนวัยอันควร. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 28(2), 173-182.

ผู้จัดการออนไลน์. (2560). เด็กเข้าถึงสื่อ “ลามก” ง่ายผ่านปลายนิ้ว พ่อแม่มีเวลาดูแล
น้อย แนะพูดคุยเรื่องเพศในครอบครัว. สืบค้นจาก www.mgronline.com.

ไพจิต ภูแช่มโชติ. (2554). การพัฒนาแนวทางการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของ
วัยรุ่น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์. (2540). หลักและวิธีการสอนทักษะชีวิต. กองบริการการศึกษา.

วรา เหลืองชัยกุล. (2556). กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ก่อน
สมรส : กรณีศึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี. สารนิพนธ์,
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วัชราภรณ์ บัตรเจริญ. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้น
มัธยมต้น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สกล วรเจริญศรี. (2550). การศึกษาทักษะชีวิต และการสร้างโมเดลกลุ่มฝึกอบรม เพื่อ
พัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนวัยรุ่น. ปริญญานิพนธ์,
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. (2552). รายงานการวิจัย
สัมพันธภาพในครอบครัว. ห้างหุ้นส่วนจำกัด แท่นทองชินวัฒน์การพิมพ์.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). เสียงสะท้อนเยาวชน ถึง
สถานการณ์ครอบครัวไทย 4.0. สืบค้นจาก www.thaihealth.or.th/Content/36159.

สุพัตรา พรหมเรนทร์. (2550). พฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุนันท์ รวีพรสัมฤทธิ์. (2557). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของ
นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สุมาลี สวยสอาด. (2550). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมในการมี
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุขุมาลย์ คำหว่าน. (2542). การลดพฤติกรรมก้าวร้าวโดยเทคนิคตัวแบบและการ
เสริมแรงทางสังคมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อรนรร ธรรมวิจิตรกุล. (2553). การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงในการป้องกันโรคโดยแกนนำ
กลุ่มเพื่อนเพื่อป้องกันการเสี่ยงทางเพศของนักเรียนหญิง.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยามหิดล.

Bandura, A. (1977). Social Learning Theory. New Jersey: Prentice-Hall.
World Health Organization. (1997). Life Skill Education for Children an
Adolescents in School. Geneva: World Health Organization.

Ministry of Public Health. (2017). Supporting teenagers to adjust their
Gender perspectives. Retrieved from http://www.thaihealth.or.th/Content/36902. [in Thai].

Bangkokbiznews. (2017). Teen moms, pregnancy issue must be recognized
by society. Retrieved from
http://www.thaihealth.or.th/Content/37852. [in Thai].

Department of Health. (2017). Statistics on Adolescent Births, Thailand
2015. The Agricultural Cooperative Federation of Thailand.Limited.
[in Thai].

Komsan Kiatrungrit. (2017). doctor. Interview, February 14, 2017. [in Thai].

Thitaree Theansuthat. (2014). Effectiveness of Life Skills Promotion
Program in Sex Education on Sexual Risk Protective Behavior
Change Among Female Students in Secondary Education at
Bangluang Wittaya School, Nakhon Patathom Province.
Thesis for Master’s Degree, Kasetsart University. [in Thai].

Nichara Ruangdaraganon. (2017). Associate Professor. Department of
Pediatrics, Mahidol University Faculty of Medicine Ramathibodi
Hospital. Interview, November 15, 2017. [in Thai].

Nongluck Aimpradit et al. (1997). General knowledge about Sex Education.
Bangkok : Thammasat University Press. [in Thai].

Banchong Phonchai. (2011). Sexual behavior among grade 11 students in a
secondary school In Nakhon Phanom Municipality. The Journal of
Prapokklao Hospital Clinical Medical Education Center,
28(4), 231-232. [in Thai].

Benjawan Sangaroon. (2014). Factors Affecting Sexual Risk Behavior among
Adolescent with Early Intercourse in Secondary School under the
Jurisdiction of the office of Basic Education Commission, Bangkok.
Thesis for Master’s Degree, Rajamangala University of Technology
Phra Nakhon. [in Thai].

Pankarin Hoyrat and Pramote Wongsawat. (2017). Thai Adolescent with Early
Sexual Intercourse. Journal of Phrapokklao Nursing College,
28(2), 173-182. [in Thai].

Mgronline. (2017). Teenagers access to easy pornography Because parents
don't have time to take care Suggest that families discuss sex
education. Retrieved from www.mgronline.com. [in Thai].

Phaichit Phoochaemchot. (2011). Development Guideline to Prevent Sexual
Risk Behaviors among Adolescent. Thesis for Master’s Degree,
Khon Kaen University. [in Thai].

Yongyud Wongpiromsarn. (1997). Principles and Method of Teaching Life
Skill. Academic Service Divisions. [in Thai].

Wara luangchaikul. (2013). Social Learning Processes Leading to Premarital
sex : A Case Study of Undergraduate Students. Master Project,
Srinakharinwirot University. [in Thai].

Watcharaporn Butcharoen. (2011). Factors Related to Sexual Risk Behaviors
among Secondary school students. Thesis for Master’s Degree,
Mahidol University. [in Thai].

Skol Voracharoensri. (2007). A Study of Life Skills and A Training Group
Model Construction for Developing Life Skills of Adolescent
Students. Dissertation, Srinakharinwirot University. [in Thai].

ASEAN Institute for Heath Development Mahidol University. (2009).
Relationship in Thai Families. Thanthong Printing. [in Thai].

ThaiHealth. (2017). The response of teenagers to Thai 4.0 family
situations. Retrieved from www.thaihealth.or.th/Content/36159.
[in Thai].

Supatra Promrian. (2007). Sexual Risk Behaviors of Junior High School
Patumwan Demonstration School Srinakharinwirot, University,
Bangkok. Thesis for Master’s Degree, Srinakharinwirot University.
[in Thai].

Sunan Raweepornsamrit. (2013). Factors Influencing Sexual Risk Behavior of
Secondary School Students in Extended Educational Opportunity
Schools under the Office of Phichit Primary Educational Service
Area. Thesis for Master’s Degree, Nakhon Sawan Rajabhat University.
[in Thai].

Sumalee Suaysaard. (2007). Psychosocial Factors Related to Sex Risk
Behavior Among Junior High School Students in Bangkok. Thesis for
Master’s Degree, Srinakharinwirot University. [in Thai].

Sukhumal Kumvan. (1999). The reduction of aggressive behavior according
to modelling technique and social reinforcement of Mattayom
Suksa VI students. Thesis for Master’s Degree, Khon Kaen University. [in Thai].

Onuma Chaiyadam. (2014). Factors Related to Sexual Behaviors of
Secondary School Students in Nonthaburi Province. Thesis for Master’s Degree, Kasetsart University. [in Thai].

Oranan Thamvichitkul. (2010). An Application of Protection Motivation
Theory with Peer Leaders to Prevent Risky Sexual Behavior among
Female Students. Thesis for Master’s Degree, Mahidol University.
[in Thai].