แรงจูงใจในการทำงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการทำงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง 4) เพื่อศึกษาความ
สัมพันธ์ระหว่างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพเพศหญิงที่ปฏิบัติงาน
โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง จำนวน 190 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t-test, F-test, Least Significant Difference (LSD) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า 1) ระดับแรง
จูงใจในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งอยู่ในระดับสูง ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับปานกลางและความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับสูง 2) พยาบาลวิชาชีพที่มี อายุ ประสบการณ์ทำงานพยาบาลวิชาชีพและความถี่ในการขึ้นเวรแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์กรแตกต่างกัน 3) แรงจูงใจในการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Article Details
References
จิราพรรณ เวศานนทเวช บุปผาชาติ ขุนอินทร์ พัชรี เจริญพรและรัชชฎาพร สีดาดาษ. (2551).
“ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความพึงพอใจในงาน ลักษณะงานและการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพ สถาบันมะเร็ง” วารสารโรงมะเร็ง, 28(4), 161-171.
จุฑาภรณ์ หนูบุตร. (2554). ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน กรณีศึกษา: โรงพยาบาลวิภาวดี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). ปทุมธานี.
จุฑามาศ วิเวโก. (2554). ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในโรงพยาบาลนายายอาม
จังหวัดจันทบุรี. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, มหาวิทยาลัยบูรพา). ชลบุรี.
จำเนียร จวงตระกูล. (2552). คุณภาพชีวิตในการทำงาน. กรุงเทพฯ : บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
ณัฐพันธุ์ ตติยาภรณ์ ธนายุ ภู่วิทยาธร และนิตย์ หทัยวสีวงศ์ สุขศรี. (2559). “ความสัมพันธ์
ระหว่างความสมดุลของชีวิตกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาล
สุราษฎร์ธานี” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 12(1), 21-43.
เติมศักดิ์ คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 8).
กรุงเทพฯ : จามจุรีโปรดักท์.
ปภณวิชษ์ พานุรัตน์และบุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2556). “ปัจจัยจูงใจของความพึงพอใจในงาน
ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชน” วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 33(1),
29-42.
ปภาวดี เหล่าพาณิชย์ ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร และสุจิตรา นิลเลิศ. (2553). “ความ
ผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลรามาธิบดี” วารสารพยาบาลทหารบก
, 11(2), 26-33.
พิมณพัฒน์ แฉล้มเขตต์. (2559). ปัจจัยที่ทำให้เกิดการคงอยู่ของพยาบาลวิชาชีพใน
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาจัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี). กรุงเทพฯ.
รัฐพล นิธินันท์กุลภัทรและภูษิต วงศ์หล่อสายชล. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใน
การทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลเกษม
ราษฎร์ ศรีบุรินทร์. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย). กรุงเทพฯ.
โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท, ฝ่ายทรัพยากรบุคคล. (2561). สรุปจำนวนพยาบาลวิชาชีพ
โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิทปี 2559-2560. โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท.
ศุลีพร จิตต์เที่ยง. (2554). ความพึงพอใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่. สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกริก.
สมสมัย สุธีรศานต์และจินตนา วรรณรัตน์ (2557). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลาออกโอนยายของพยาบาลวิชาชีพ ฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์” วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 20(2), 145-159.
สุขกมล ทรัพย์มงคล. (2553). มาตรฐานความสำเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล HR Scorecard กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานสรรพากรเขตพื้นที่ 21. สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกริก.
อมรรัตน์ แก้วทวีและอารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2557). “ความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลชีวิตกับการ
ทำงาน บรรยากาศความปลอดภัยในการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนภาคใต้” วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 313-320.
อรวรรณ เครือแป้น ปิยธิดา ตรีเดช และวงเดือน ปั้นดี. (2556). “ความผูกพันองค์กรของ
พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง” วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 29(2), 10-19.
อนันต์ สังเกตุใจ. (2559). ความผูกพันต่อองค์กรของพยาบาลโรงพยาบาลธัญญารักษ์
แม่ฮ่องสอน. โรงพยาบาลธัญญารักษ์แม่ฮ่องสอน.
Battu, N. and Chakravarthy, G.K. (2014). “Quality of work life of nurse and paramedical staff in hospitals.” International Journal of Business and Administration Research Review 2(4): 200-207.
Greenhaus, J., Collins, K, & Shaw, D. (2003). “The relation between work-family
balance and quality of life.” Journal of Vocational Behavior, 63(3): 510-513.
Herzberg, Frederick., Mausner, Bernard and Snyderman, Barbara B. (1959). The Motivation to Work (2nd ed.). New York: John Wiley.
Hutton, A. (2005). The case for work/life balance: Closing the gap between policy and practice. New Zealand: Hudson Highland Group, Inc.
Robbins, Stephen P. (2001). Organizational Behavior. (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Sawaengdee K, (2007). The Current Nursing Workforce Situation in Thailand. Bangkok: Graphigo system.
Somers, M. J. (1995). “Organizational commitment, turnover, and absenteeism: an examination of direct and interaction effect.” Journal of Organizational Behavior, 16, 49-58.
Amornrat Kaewtawee and Areewan Oumtanee. (2014). "Relationships between
work-life balance, safety climate and organizational commitment of professional nurses, private hospitals, southern region." Journal of The Royal Thai Army Nurses, 15 (3), 313-320. [In Thai].
Anan Sangketjai. (2016). The Commitment to The Organization of Nurses at
Thanyarak Hospital Mae Hong Son. Thanyarak hospital, Mae Hong Son. [In Thai].
Boontham Kijpreedaborisud. (2004). Social Sciences Research Methodology. (8th
ed.). Bangkok: Jamjuree. [In Thai].
Chamnien Chuangtrakul. (2009). Quality of Work Life. Business law center
international company limited. [In Thai].
Kanpitcha Boonthong. (2016). A Study of Personal Factors, Quality of Work Life
and Work Satisfaction Influencing the Organizational Commitment of private
Hospital Employees: A Case Study of Rajthanee Hospital, Ayutthaya Province. (Independent research, master of business administration degree, Bangkok University). PathumThani. [In Thai].
Jirapun Vesanontavech, Bubpachat Kunin, Patcharee Chareonporn and
Ratchadaporn Seedadard. (2008). "Relationship between personal factors, Job satisfaction, Job characteristic and Job performance with organization commitment of registered nurses in national cancer institute." The Cancer Journal, 28 (4), 161-171. [In Thai].
Jutamat Vivego. (2011). Organizational Commitment of the Personnel in Na-
Yai-Am Hospital, Chantaburi Province. (Master of public administration thesis, public and private management, Burapha University). ChonBuri. [In Thai].
Juthaporn Noobut. (2011). Balance Between Life and Work. Case Study: Vibhavadi Hospital. (Master of business administration thesis, Human resource management and organization, Thammasat University). Pathum Thani. [In Thai].
Natthaphant Tatiyaporn, Thanayupu Wittayatorn and Nitya Watsaiwongsuksri.
(2016). "The relationship between the work life balance and the work performance efficiency of staffs in suratthani hospital." Journal of Phuket Rajabhat University, 12 (1), 21-43. [In Thai].
Orawan Kurepan Piyathida Tridech and Wungdeun Puntdee. (2013).
“Organizational commitment of professional nurses in a private hospital." Journal of Boromarajonani College of Nursing, Bangkok, 29 (2), 10-19. [In Thai].
Paphawadee Laikaphan, Piyathida Tridetpira, Jubjit Jit and Suchitra Nilert. (2010).
“Commitment to the organization of professional nurses, Ramathibodi hospital." Journal of The Army Nurses, 11 (2), 26-33. [In Thai].
Pimnapud Chalamket (2016). Factors Affecting Retention of Professional
Nurses at Thammasat University Hospital in Pathumthani. (Degree thesis Master of Business Administration, General Management, Rajamangala University of Technology Thanyaburi). Bangkok. [In Thai].
Porphanawit Panurat and Boonjai Srisatidnarakul. (2013). "Key contributor for
nurse job satisfaction in private hospitals." Songklanakarind Nursing Journal, 33 (1), 29-42. [In Thai].
Rattapol Nitinankulphat and Phusit Wong Lor Sai Chon. (2018). The Relationship
Between Motivation in Working with Organizational Commitment of Operational Staff Kasemratsriburin Hospital. (Master of business administration thesis, business administration, Thai chamber of commerce University). Bangkok. [In Thai].
Samitivej sukhumvit hospital, Human resources department. (2018). Summary
of Professional Nurses Samitivej Sukhumvit Hospital, 2016-2017. Samitivej sukhumvit hospital. [In Thai].
Somsom Suteerasan and Jintana Wannarat (2014). "Factors influencing turnover
of professional nurses in nursing division at songklanakarind university Hospital." Journal of Nursing Science Chulalongkorn University, 20 (2), 145-159. [In Thai].
Sukkamol Sapmongkol. (2010). Standards for Human Resource Management
Success and Job Satisfaction of The Staff of The Area Revenue Office 21. master of public administration program, faculty of arts, Krirk University. [In Thai].
Sureephon Jitthiang. (2011). Work Satisfaction and Organizational
Commitment of Cat Telecom Public Company Limited Employees. Head Office. master of public administration program, faculty of arts, Krirk University. [In Thai].
Toemsak Khathavanich. (2003). General Psychology. Bangkok: se-education public
company limited. [In Thai].