พุทธรัฐศาสตร์ : บทศึกษาเบื้องต้นว่าด้วยความหมาย และการประยุกต์ใช้กับการเมืองการปกครอง -
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายของพุทธรัฐศาสตร์ และหลักธรรมใดในศาสนาพุทธที่ประยุกต์ใช้กับการเมืองการปกครองได้และประยุกต์ใช้อย่างไร โดยกำหนดเกณฑ์การเลือกคือ เข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน ประยุกต์ใช้ได้จริง ผลการศึกษาพบว่า “พุทธรัฐศาสตร์” เป็นความรู้เกี่ยวกับการนำหลักธรรมในศาสนาพุทธมาประยุกต์ใช้กับการเมืองการปกครอง หรือเป็นความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาพุทธกับรัฐในมิติการเมืองการปกครอง โดยรัฐและศาสนามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับประชาชนทุกระดับ ส่วนศาสนาพุทธมีหลักธรรมสำคัญที่ง่ายต่อการนำมาประยุกต์ใช้กับการเมืองการปกครอง ได้แก่ สุจริต 3, ฆราวาสธรรม 4, พรหมวิหาร 4, และทศพิธราชธรรม โดยทั้ง 4 หลักธรรมข้างต้นได้ครอบคลุมทั้งกาย วาจา ใจ หากนำมาประยุกต์ใช้ย่อมส่งผลดีต่อตนเองและสังคม โดยเฉพาะในสังคมไทยที่คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งจะทำให้สังคมมีความเข้มแข็ง และรัฐมีผู้นำทางการเมืองที่ดีและมีคุณธรรม เนื่องจากความรู้ การเมือง และอำนาจไม่อาจทำให้เกิดการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรมได้ ดังนั้น หากสามารถนำหลักธรรมมาประยุกต์ใช้อย่างจริงจังและเหมาะสม จะเป็นกลไกหนึ่งในการเสริมพลังให้ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก และรัฐประสบความสำเร็จในการพัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างมั่นคงและยั่งยืน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงวัฒนธรรม. (ม.ป.ป.). พระพุทธศาสนา. สืบค้นจาก https://www.m-culture.go.th/mculture _th60/download/Buddhism.pdf
กระมล ทองธรรมชาติ และเชาวนะ ไตรมาศ. (2551). เอกสารการสอนชุดวิชา หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์. ใน หน่วยที่ 1 ลักษณะและขอบข่ายของรัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เขมณัฐ ภูกองไชย. (2556). หลักรัฐศาสตร์. อุดรธานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี.
จิตตาภา สารพัดนึก ไชยปัญญา. (2563). ชนิดของสมาสสันสกฤตที่ปรากฏในภาษาไทย. วารสารวิชาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(2), 342-359.
จุรี สายจันเจียม. (2558). พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานทางรัฐศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 4(1), 393-401.
ชาตรี ชุมเสน. (2553). ศาสนาเปรียบเทียบ. อุดรธานี: สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ชีวิตสุขภาพคนไทย (Thai health life). (ม.ป.ป.). ฆราวาสธรรม 4. สืบค้นจาก https://thaihealthlife.com/ฆราวาสธรรม4/
ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร. (2554). รัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมดาเพรส จำกัด.
ธรรมนิติ. (2562). บริหารคนด้วยพรหมวิหาร 4. สืบค้นจาก https://www.dst.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=3607:manage-people-four-sublime-states &catid=29&Itemid=180&lang=en
บูฆอรี ยีหมะ. (2552). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระครูวินัยธรอธิษฐ์ สุวฑฺโฒ. (2564). รัฐศาสตร์แนวพุทธ: วิเคราะห์ภาวะผู้นาทางการเมืองที่พึงประสงค์. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 4(2), 70-77
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (Dictionary of Buddhism). (พิมพ์ครั้งที่ 34). กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก.
พระมหาจรรยา สุทธิญาโน. (2541). รัฐธรรม. เชียงใหม่. สถาบันปัญญานันทะ.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2556). ทศพิธราชธรรม: 10 ตัวชี้วัดสำหรับผู้นำองค์กร. สืบค้นจาก https://www.mcu.ac.th/article/detail/14241
พระมหาอมร มหาลาโภ. (2561). ทศพิธราชธรรมกับการปกครองของไทยในปัจจุบัน, วารสารวิชาการ สถาบันพัฒนาพระวิทยากร, 1(2), 93-105.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). คู่มือมนุษย์ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ฟื้น ดอกบัว. (2539). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: โสภณการพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: บริษัท ศิริ วัฒนาอินเตอร์พริ้น จากัด (มหาชน).
วีณา วงศ์วิสิทธิ์. (2542). พุทธศาสน์. นครปฐม: ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครปฐม.
สารานุกรมไทย. (ม.ป.ป.). ศาสนาและความเชื่อ. สืบค้นจาก https://saranukromthai.or.th/sub/
book/book.php?book=20&chap=1&page=t20-1-infodetail01.html
สุมาลี บุญเรือง และพระอโณทัย กตปุญฺโญ. (2563). รัฐศาสตร์แนวพุทธ: วิเคราะห์เสรีภาพทางการเมือง ในระบอบประชาธิปไตย. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 16(2), 30-41.
สุมาลี บุญเรือง และพระอโณทัย กตปุญฺโญ. (2564). รัฐศาสตร์แนวพุทธว่าด้วยการปกครองตามหลัก ทศพิธราชธรรม. วารสารวิจัยวิชาการ, 4(1), 233-242.
เอกวิทย์ มณีธร. (2554). รัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ม. ที. เพรส.