แรงจูงใจในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวลูกบนสื่อสังคมออนไลน์ และผลกระทบที่เกิดขึ้น

Main Article Content

Nasarapa Narmphring
ชวิศา กระท้อนกลาง
พนมพร พุ่มจันทร์
เอื้ออนุช ถนอมวงษ์
สุชาดา สกลกิจรุ่งโรจน์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวลูกบนสื่อสังคมออนไลน์และผลกระทบที่เกิดขึ้น ผู้เข้าร่วมวิจัยคือผู้ปกครองจำนวน 11 คน และลูกวัยรุ่นจำนวน 12 คน ที่เป็นครอบครัวเดียวกัน เลือกตัวอย่างแบบเจาะจงร่วมกับแบบลูกโซ่ของผู้ให้ข้อมูล ใช้แบบสอบถามออนไลน์และการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ คือ จำนวนและร้อยละ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้กระบวนการวิเคราะห์เนื้อหา พบว่า ทั้งผู้ปกครองและลูกมองว่าแรงจูงใจที่ส่งผลมากที่สุด คือ เพื่อเก็บไว้เป็นความทรงจำ
นอกจากนี้จากการสัมภาษณ์มุมมองของลูกต่อการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวลูกบนสื่อสังคมออนไลน์ พบประเด็นหลัก
4 ประเด็น ดังนี้ 1) เหตุผลในการตัดสินใจเป็นเพื่อนกับพ่อแม่บนสื่อสังคมออนไลน์ 2) ความคิดและความรู้สึกของลูกเกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวลูกบนสื่อสังคมออนไลน์ พบว่าลูกรู้สึกพึงพอใจที่จะให้พ่อแม่
เผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของตนเองลงบนสื่อสังคมออนไลน์ หากว่าการกระทำนั้นสร้างความสุขให้กับพ่อแม่
หรือเป็นการเผยแพร่เพื่อเก็บไว้เป็นความทรงจำและสร้างความประทับใจ รวมถึงรู้สึกดีเมื่อพ่อแม่
ขอความยินยอมก่อนที่จะนำข้อมูลส่วนตัวลูกไปเผยแพร่ แต่ก็มักเกิดความรู้สึกเขินหรืออับอาย และมีความกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัวของตนเอง และ 3) การตัดสินใจเกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวลูกบนสื่อสังคมออนไลน์ในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Baştemur, Ş. and Kurşuncu, M. A. (2022). Sharenting: Why Parents Share Their Children’ Photos on Social Media?. DergiPark, 12(3), 2911-2928. http://doi.org/ 10.48146/odusobiad.1137855.

Brosch., A. (2016). When the Child is Born into the Internet: Sharenting as a Growing Trend among Parents on Facebook. The New Educational Review, https://doi.org/10.15804/tner.2016.43.1.19.

Brosch, A. (2018). Sharenting - Why Do Parents Violate Their Children’s Privacy?. The New Educational Review, 2018(54), 75-85. http://doi.org/10.15804/tner.2018.54.4.06.

Coyne, S.M., Padilla-Walker, L.M, Day, R.D., Harper, J. and Stockdale, L. (2014). A Friend Request from Dear Old Dad: Associations Between Parent–Child Social Networking and Adolescent Outcomes. Cyberpsychology, Behavior, and Social Networking, 17(1), 8-13.

Crawford, A. (2016). Paedophiles use secret Facebook groups to swap images. BBC. https://www.bbc.com/news/uk-35521068? Definition of 'sharenting'. (n.d.). Collins Dictionary. https://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/sharenting.

Goffman, E. (1959). The Presentation of Self in Everyday Life. Doubleday.

Kopecky, K., Szotkowski, R., Aznar-Díaz, I., and Romero-Rodríguez, J.M. (2020). The phenomenon of sharenting and its risks in the online environment. Experiences from Czech Republic and Spain. Children and Youth Services Review, 110. https://doi.org/10.1016/j.childyouth.

104812.

Kumar, P., and Schoenebeck, S. (2015). The modern day baby book: enacting good mothering and stewarding privacy on facebook. ACM Conference on Computer Supported Cooperative Work & Social Computing, 18, 1302-1312. https://doi.org/10.1145/2675133.

Lipu, M., and Siibak, A. (2019). ‘Take it down!’: Estonian parents’ and pre-teens’ opinions and experiences with sharenting. Media International Australia, 170(1), 57-67. https://doi.org/10.1177/1329878X19828366.

Ng, J. (n.d.). Why do Asians Avoid Conflict?. NEXLeaders. https://nexleaders.com/why-do-asians-avoid-conflict/.

Ouvrein, G. and Verswijvel, K. (2019). Sharenting: Parental adoration or public humiliation?

A focus group study on adolescents' experiences with sharenting against the background

of their own impression management. Children and Youth Services Review, 99(2019), 319-327.

https://doi.org/10.1016/j.childyouth.2019.02.011surveys/parents-social-media-likes-and-dislikes-sharenting.

Steinberg, S. (2017). Sharenting: Children's Privacy in the Age of Social Media. Emory Law Journal, 66(4), 16-41.

Verswijvel, K., Walrave, M., Hardies, K., and Heirman, W. (2019). Sharenting, is it a good or

a bad thing? Understanding how adolescents think and feel about sharenting on

social network sites. ScienceDirect, 2019(104). https://doi.org/10.1016/j.childyouth.2019.

จิราภรณ์ อรุณากูร. (2561). เตือนโพสต์รูปลูกลงโซเชียลฯ อาจเกิดผลเสียที่คาดไม่ถึง. https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/เตือนโพสต์รูปลูกลงโซเชียล/.