การสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรโดยการแปรรูปเป็นขนมไทยเพื่อเป็นสินค้าวัฒนธรรม

Main Article Content

Nilobon Vongpattaranon

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการสังเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ (Research Synthesis) ที่เกี่ยวกับการสร้าง
มูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรโดยการแปรรูปเป็นขนมไทยเพื่อเป็นสินค้าวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2565
จ􀃎ำนวน 26 เรื่อง โดยใช้วิธีให้เหตุผลเชิงอุปมาน (Induction Reasoning) เพื่อหาข้อสรุปร่วมด้านผลการศึกษา (Meta Data Analysis) ผลการวิจัยพบว่า งานวิจัยในช่วงเวลาดังกล่าวมีการด􀃎ำเนินการสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 และ 12 เมื่อบูรณาการข้อสรุปร่วมกับแนวคิด “ทุน” (Capital) ของบูร์ดิเยอ จะเกิดเป็นองค์ความรู้ต้นแบบในการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรให้เป็นสินค้าวัฒนธรรม
โดยใช้ “ทุนวัฒนธรรม” จากเอกลักษณ์ของผลผลิตทางการเกษตรและภูมิปัญญาในแต่ละท้องถิ่น และ
“ทุนทางสังคม” จากการรวมกลุ่มสร้างเครือข่ายของชุมชน สร้างขนมไทยให้เป็น “สินค้าวัฒนธรรม” เพื่อเพิ่ม “ทุนเศรษฐกิจ” และกลายเป็น “ทุน”

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤตนัน ดีเด่นกีรติสกุล และ ดวงกมล ชาติประเสริฐ. (2565). การรับรู้คุณค่าผลติภัณฑ์ทางวัฒนธรรมไทย

ของผู้บริโภคภายในประเทศ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 17(2), 31-58.

กัญญ์ญาณัฐ จึงพัฒนา. (2563). ทัศนคติและแนวทางการพัฒนาขนมไทยในประเทศสิงคโปร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี).

กันยารัตน์ เชี่ยวเวช. (2559). ทุนทางสังคมในมิติวัฒนธรรมกับการพัฒนาชุมชนเกษตรกรรมสู่ความเข้มแข็ง [เอกสารนำเสนอ]. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 5, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.

จอมภัค คลังระหัด, ณัฐพร จัมภวัง และ ณัฐสิมา กิตติสังวรา. (2560). การสร้างมูลค่าเพิ่มและช่องทางการจัดจำหน่ายด้านอาหารประเภทผักและผลไม้ ด้วยนวัตกรรม เครื่องอบสูญอากาศ [เอกสารนำเสนอ]. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารกิจการสาธารณะ ครั้งที่ 4, ขอนแก่น, ประเทศไทย.

ชญาภัทร์ กี่อาริโย, อภิญญา มานะโรจน์, พจนีย์ บุญนา และ ณนนท์ แดงสังวาลย์. (2555). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมไทยจากพืชสมุนไพรพื้นบ้าน. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. https://doi.org/10.14457/PNRU.res.2012.5.

ชญานิศ เต็นภูษา, บุณฑริกา พวงศรี และ ภฤศญา ปิยนุสรณ์. (2561). การศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์

และการสร้างมูลค่าเพิ่มธุรกิจลูกชุบ กรณีศึกษาร้านขนมลูกชุบ LUCKY BEAN อำเภอเมืองจังหวัดนนทบุรี [เอกสารนำเสนอ]. The International and National Conference on Business Administration and Accountancy 2022, ชลบุรี, ประเทศไทย.

ณัฐหทัย สุทธิวงษ์, (2562). โครงการเอพีโอ 18-AG-44-GE-WSP-B: Workshop on Value-added Agriculture [รายงานการเข้าร่วม]. อิสลามาบัด, ปากีสถาน.

ต่อพงศ์ ผ่องชนะ. (2565). กลยุทธ์การจัดการธุรกิจร้านขนมไทยคุณเอ๋จังหวัดอุตรดิตถ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้).

ตุนท์ ชมชื่น และ จักรพันธ์ ชัยทัศน์. (2559). การผลิตด้วยทุนวัฒนธรรมกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

ในเขตสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 4(1), 18- 31.

ทวีศักดิ์ รูปสิงห์ และ พรรษวดี พงษ์ศิริ. (2565). กลยุทธ์การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์กลุ่มเกษตรอินทรีย์

เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันยุคดิจิตัล. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ,

(3), 472-488.

ไทยพีบีเอส. (2566). “1 จังหวัด 1 เมนู เชิดชูอาหารถิ่น” ปี 2566 หลายเมนูชื่อแปลก ต้องลองสักครั้ง. [ข่าว]. https://www.thaipbs.or.th/.

นนทิภัค เพียรโรจน์, สิริภัทร์ โชติช่วง และกนกวรรณ ศรีขวัญ. (2562). แนวทางการสร้างมูลค่าทางการตลาด

มะพร้าวสมุย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์, 39 (1), 120-136.

นรินทร์ เจริญพันธ์ และ กนกพร ภาคีฉาย. (2562). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมสัมปันนีเพื่อสุขภาพ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 27(5), 924-935.

นันท์นภัส กุนดี. (2564). กลยุทธ์การตลาดดิจิทัล ปัญหาเเละโอกาสของการส่งออกสินค้าเกษตร ผ่านรูปเเบบ B2B Marketplace ในยุคไทยเเลนด์4.0. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).

บุษราภรณ์ พวงปัญญา, สัญญา เคณาภูมิ และ ยุภาพร ยุภาศ. (2559). แนวทางการจัดการเพื่อยกระดับสินค้าทางวัฒนธรรม. วารสารใบลาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 1(1), 80-101.

ประทับใจ สุวรรณธาดา และ ศักดิ์ชาย สิกขา. (2561). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา: ในเขตพื้นที่ภาคอีสานตอนบน. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9(2), 137-155.

ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2563). การศึกษาสินค้าทางวัฒนธรรม สู่การออกแบบและสร้างสรรค์การแสดง. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 24(1), 77-96.

พจน์ธรรม ณรงค์วิทย์ และ อำไพ แสงจันทร์ไทย. (2562). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเชิงวัฒนธรรม ประเภทพระดินสำหรับแหล่งเรียนรู้การทำพระเครื่องนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร อย่างมีส่วนร่วมกับชุมชน. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัยและงานสร้างสรรค์, 6(1), 218-245.

พชรพรรณ หาญสวัสดิ์, (2559). การศึกษาโอกาสและความเป็นไปได้ทางการเงินของธุรกิจขนมไทยสด

เพื่อเป็นของฝากและส่งออก “PIHNA” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).

พระครูวัชรสุวรรณาทร. (2562). การผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น คุณค่าอัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยวัฒนธรรม ชุมชน. (รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย).

พัชราพรรณ เสงี่ยมศักดิ์ และ ธรรมวิมล สุขเสริม. (2561). ความต้องการซื้อผลติภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์จากภูมิปัญญา ของไทย. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์, 4(2), 157-173.

รังสรรค์ ธนพรพันธุ์. (2544). การศึกษา ทุนนิยมและโลกานุวัตร. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

รัชฎาภรณ์ พัฒนะ. (2563). แนวทางการเพิ่มมูลค่าข้าวของเกษตรกร ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(3), 89-99.

วันวิสา มากดี, พิมุกต์ สมชอบ, อัญญานี อดทน, วิรินดา สุทธิพรม และ พัฒนศักดิ์ ปทุมวัน. (2559). การสร้างนวัตกรรมและเพิ่มมูลค่าข้าวหอมทุ่งหมู่บ้านหัวดอนเพื่อสร้างเศรษฐกิจแบบยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 “ท้าทายธุรกิจท้องถิ่นไทย ด้วยนวัตกรรมด้านการจัดการ”, อุบลราชธานี, ประเทศไทย.

สุดาทิพย์ เกษจ้อย. (2565). การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยการแปรรูปเป็นขนมไทยพื้นบ้าน สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น. วารสารสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(2), 145-158.

สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์. (2564). การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน มูลค่าเพิ่ม และความสามารถในการจัดการนวัตกรรม ของผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรมะม่วงเพื่อการส่งออก ในบริบทพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา.

วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(1), 41-54.

สุรชา บุญรักษา. (2562). แนวทางการพัฒนากลยุทธ์การตลาดเพื่อสร้างการรับรู้คุณค่าขนมไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร

ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารวิทยาการจัดการ, 112-126.

สุเพียร โภคทิพย์. (2551). การสังเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพในการปฏิบัติการพยาบาล. สรรพสิทธิเวชสาร, 29(3), 195-205.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). https://www.nesdc.go.th/.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12

(พ.ศ. 2560-2564). https://www.nesdc.go.th/.

ศศิพร ต่ายคำ. (2557). การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าของวิสาหกิจชุมชน จังหวัดราชบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

อุทิศ ทาหอม และ สุนันท์ เสนารัตน์. (2562). แนวทางการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสินค้าทางวัฒนธรรมขนมทองม้วน

ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, 14(1), 7-25.

Bourdieu, P. (1986). The Forms of Capital. In J. Richardson (Ed.), Handbook of Theory and Research for the Sociology of Education. Greenwood.

Bourdieu, P. (1997). The Forms of Capital. In A.H. Halsey (Ed.), Education: Culture, Economy and Society. Oxford University.

Valentine, J. C. & Cooper, H. (2009). The Handbook of research synthesis and meta-analysis. Russell Sage Foundation.

Sandelowski, M. (1997). “To be of use”: enhancing the utility of qualitative research. Nursing Outlook, 45(3), 125-132.