การรับรู้ภาพลักษณ์ “การเป็นสังคมแห่งการให้และการแบ่งปัน” ของมหาวิทยาลัยรังสิตในทัศนะของประชากรจังหวัดปทุมธานี

Main Article Content

Kanyanee Kulkanok

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ภาพลักษณ์การเป็นสังคมแห่งการให้และการแบ่งปันของมหาวิทยาลัยรังสิต และเพื่อศึกษาภาพลักษณ์การเป็นสังคมแห่งการให้และการแบ่งปันของมหาวิทยาลัยรังสิตในทัศนะของประชากรจังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาในการหาค่าร้อยล่ะ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างรับรู้ภาพลักษณ์การเป็นสังคมแห่งการให้และการแบ่งปันของมหาวิทยาลัยรังสิตผ่านอัตลักษณ์ของธุรกิจโดยการจัดตั้งตำรวจมหาวิทยาลัย เพื่อตรวจตราและใส่ใจความปลอดภัยให้กับนักศึกษาและชุมชนโดยรอบมากที่สุด รองลงมาคือรับรู้ภาพลักษณ์ผ่านการสื่อสารผ่านบุคคล ถัดมาคือรับรู้ภาพลักษณ์ผ่านการประชาสัมพันธ์ และท้ายที่สุดคือรับรู้ภาพลักษณ์ผ่านการโฆษณา และภาพลักษณ์การเป็นสังคมแห่งการให้และการแบ่งปันของมหาวิทยาลัยรังสิตในทัศนะของประชากรจังหวัดปทุมธานี ซึ่งประชากรจังหวัดปทุมธานีมีความเห็นต่อภาพลักษณ์เชิงการกระทำมากที่สุด รองลงมาคือภาพลักษณ์เชิงความรู้สึก ถัดมาคือภาพลักษณ์เชิงความรู้ และท้ายที่สุดคือภาพลักษณ์เชิงการรับรู้ ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). สุวีริยาสาส์น.

ปริญ ลักษิตานนท์. (2554). จิตวิทยาและพฤติกรรมผู้บริโภค. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เหรียญบุญ การพิมพ์.

นิติยา ศรีพูล. (2555). ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในจังหวัดสงขลาตามทัศนะของประชาชน. การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4: เรื่องการวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมไทย, สงขลา, ประเทศไทย.

พรทิพย์ พิมลสินธุ์. (2540). ภาพพจน์นั้นสำคัญยิ่ง: การประชาสัมพันธ์กับภาพพจน์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). ประกายพรึก.

ไพศาล ฤทธิกุล. (2559). อัตลักษณ์และการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของกลุ่มธนาคารต่างชาติ กรณีศึกษา ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (มหาชน). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).

สุทธิษา มุ่งมาไพรี. (2565). ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการบอกต่อ และความตั้งใจกลับมาศึกษาต่อหรือใช้บริการโปรแกรมอื่นในอนาคต นักศึกษามหาวิทยาลัยหาดใหญ่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่).

แสงเดือน วนิชดำรงค์ศักดิ์. (2555). การรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ : กรณีศึกษาธนาคารเกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

อริสรา บุญรัตน์. (2557). แนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).

Ajzen. (1988). Attitude, personality and behavior. The Dorsey.

Assael H. (1998). Consumer Behavior and Marketing Action. (6th ed). SouthWestern College.

DOH Dashboard, Health Data Center.(2021).Demographics in Pathum Thani Province.

https://region4.hpc.go.th/hdc/dashboard/populationpyramid/changwat?year=2021&

cw=13

Foxall, G. R., Goldsmith, R. E., & Brown, S. (1998). Consumer psychology for marketing. International Thompson.

Frank J. (1975). Planned Press and Public Relations, (3nd ed). Alen.

Gail L. M., Gillian K., Dara M., Kathryn S. W., Jennifer M., Michelle L., Janis E., Judy V., Alison B., Lydia C. & Laura B. (2010). Promoting positive body image among university students: A collaborative pilot study, 7(3). Elsevier.

John C. M. (1998). Consumer Behavior. (5th ed). Prentice-Hall.

Kenneth E.B. (1975). The Image Knowledge in Life and Society, The University of Michigan

Kritsaneekron, J. & Kanyanee, K. (2019). A “Society of Giving” Image of Rangsit University through Marketing Communication. RSU National Research Conference, 1093-1102.

https://rsucon.rsu.ac.th/files/proceedings/nation2019/NA19-022.pdf

National Education Act of B.E.(1999).National Education Act of B.E. https://web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/NATIONAL_EDUCATION_ACTB.E._2542.pdf.

Ongart N. (2008). Quantitative and Qualitative Research Methodologies. threelada.

Philip K. (2000). Marketing Management, (10th ed). Prentice-Hall.

Rangsit university. (2021). Rangsit university. https:// www2.rsu.ac.th/info/rangsit-university.

Rungruangviriya, S. (2010). Learning Society and Sharing Opportunities.

https://positioningmag.com/51478.

Sith T. (2009). Integrated Marketing Communication. (2nd ed.). Chulalongkorn university press.