การศึกษาภูมิปัญญาการใช้อินทผาลัมในการถือศีลอดของศาสนาอิสลามในพื้นที่ภาคกลาง A study of wisdom of the use of dates in Islamic fasting in the central region
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการใช้อินทผลัมในการถือศีลอดของศาสนาอิสลาม มี 5 ประเด็น คือ การอนุรักษ์และสืบทอด การรวบรวมองค์ความรู้ การคุ้มครองและส่งเสริม แนวทางการศึกษาวิจัย และแนวทางการวางแผนพัฒนาภูมิปัญญาการใช้อินทผลัมในการถือศีลอด ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 18 คน วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย (Analytic Induction) โดยนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาตีความ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้นำศาสนามีความเชื่อว่าอินทผลัมที่ใช้ในการถือศีลอด สามารถรักษาโรคได้จริง ช่วยทำให้ผู้นำศาสนาดำเนินชีวิตประจำวันได้เป็นปกติสุข 2) รูปแบบในการใช้อินทผลัมประกอบไปด้วย ผลสด ผลแห้ง และกึ่งสุกกึ่งดิบ ส่วนมากจะนิยมรับประทานก่อนอาหาร ซึ่งจะรับประทานช่วงเริ่มถือศีลอดและช่วงละศีลอด 3) มีการส่งเสริมให้มีการใช้อินทผลัมในการถือศีลอด เพื่อให้เห็นคุณค่าและคุณประโยชน์ของอินทผลัม และเป็นข้อปฏิบัติทางศาสนาอิสลาม 4) ผู้นำศาสนา มีความยินดีและให้ความร่วมมือกับภาครัฐหรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความสนใจอยากเข้ามาศึกษาเก็บข้อมูล องค์ความรู้ต่าง ๆ โดยไม่บิดบังหรือหวงวิชาความรู้ 5) ยังไม่มีการวางแผนร่วมกันพัฒนาภูมิปัญญาการใช้อินทผลัมในการถือศีลอด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กฤษดา จักรเสน. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอินทผลัมอย่างยั่งยืนในประเทศไทย. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 193-202.
เกษตรชัย และหีม, ดลมนรรจน์ บากา, ฮัสบุลเลาะ ตาเฮ, และสะสือรี วาลี. (2562). การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมตามวิถีอิสลามของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้: กรณีศึกษาบ้านโสร่ง ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 32(1), 361–387.
คนางค์ คันธมธุรพจน์, วาทินี คุณเผือก, และสุลัดดา พงษ์อุทธา. (2559). องค์ความรู้เพื่อส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้อินทรีย์ในประเทศไทย. (รายงานวิจัย). แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, และกาญจนี ละอองศรี. (2552). โลกของอิสลามและมุสลิมในสยามประเทศไทย-อุษาคเนย์-เอเชียตะวันออกเฉียงใต้. การสัมมนาวิชาการโลกของอิสลามและมุสลิมในอุษาคเนย์. (รายงานวิจัย). มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.
ณัฐกรณ์ บุญมาเลิศ. (2562). การถือศีลอดของชาวมุสลิม. https://www.lib.ru.ac.th/journal2/?p=12010
เทคโนโลยีชาวบ้าน. (2562). ทำความรู้จัก “อินทผลัม” ไม้ผลรสฉ่ำ. https://www.technologychaoban. com/bullet-news-today/article_113561?fbclid=IwAR18AEdj6QtPwk0hNCuwf_ nltGHTEt0JVbOidqkbc FwitXFIUe89pou4mI
พณพัฒณ์ โตเจริญวานิช. (2551). การจัดบริการปฐมภูมิการดูแลโรคเบาหวานในพื้นที่พิเศษจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล. (รายงานวิจัย). สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พรประภา ชุนถนอม, หทัยรัตน์ บุญทวี, นรินธร อาจวาที, เสาวรส ร้องขาน, และวิวัฒน์ ศรีวิชา. (2557). คุณภาพของน้ำอินทผลัมสดในจังหวัดสกลนคร. วารสารแก่นเกษตร, 42(ฉบับพิเศษ 1), 620-626.
พัฒนา นรมาศ. (2561). อินทผลัมกินผล ชัยนาท ประโยชน์หลาย ปลูกขายได้เงินล้าน. https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_78770
พุฒิพงศ์ มีชะนะ, ปัญจธันว์ บุณยเกียรติ, ณัฐธัญ สงวนแก้ว, ปณิศา มีจินดา, และรุจิกาญจน์ สานนท์, (2565). การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดสมัยใหม่ของเกษตรกรผู้ปลูกอินทผลัมในอำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา: กรณีศึกษาสวนผู้ใหญ่ทอง. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 1(1), 16-29.
วรรณกร พลพิชัย, และเจตนา อินยะรัตน์. (2562). การศึกษาความเชื่อ พิธีกรรม และรูปแบบการสืบทอดครูหมอโนราและโนราโรงครู ในตำบลปริก อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
Al-Farsi, M., Alasalvar, C., Morris, A., Baron, M., & Shahidi, F. (2005). Compositional and sensory characteristics of three native sun-dried date (Phoenix dactylifera L.) varieties grown in Oman. Journal of Agricultural and Food Chemistry, 53(19), 7586-7591.
Al-Shahib, W. & Marshall, R. (2003). The fruit of the date palm: its possible use as the best food for the future. International Journal of Food Science and Nutrition, 54(4), 247-259.
Al-Shwyeh, H.A. (2019). Date palm (Phoenix dactylifera L.) fruit as potential antioxidant and antimicrobial agents. Journal of Pharmacy and BioAllied Science, 11(1), 1-11.
Assirey, E.A.R. (2015). Nutritional composition of fruit of 10 date palm (Phoenix dactylifera L.) cultivars grown in Saudi Arabia. Journal of Taibah University for Science, 9(1), 75-79.
Imam Malik ibn Anas. (1989). Al-Muwatta of Imam Malik ibn Anas: The First Formulation of Islamic Law. Translated by Aisha Abdurrahman Bewley. Kegan Paul International.
Jamil, M.S., Nadeem, R., Hanif, M.A., Ali, M.A. & Akhtar, K. (2010). Proximate composition and mineral profile of eight different unstudied date (Phoenix dactylifera L.) varieties from Pakistan. African Journal of Biotechnology, 9, 3252-3259.
Krueger, R.R., Al-Khayri, J.M., Jain, S.M., & Johnson, D.V. (2023). Introduction: The Date Palm Legacy. https://www.cabidigitallibrary.org/doi/epdf/10.1079/9781800620209.0001
Pew Research Center. (2017). The Changing Global Religious Landscape. https://www.pewforum.org/2017/04/05/the-changing-global-religious-landscape/
Umar, N.S., Rani M.D.M, Rahman, Z.A., & Aris, M.S.M. (2016). Practice of Phoenix dactylifera (Dates) among Residents in Kg. Dato’ Ahmad Razali, Dengkil, Selangor: A Preliminary Study. International Journal of Social Science and Humanity, 6(9), 681-684.
Wellmann A.P, A.H. Escobar & D.V. Johnson. (2007). Date palm cultivation in Chile and Peru (South America): current status and future prospects for development. Acta Hort, 736, 71-85.
World intellectual property organization. (2018). Cultural expressions. https://www.wipo.int/publications/en/details.jsp?id=4025