ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ผู้แต่ง

  • อรพินท์ บุญสิน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

คำสำคัญ:

ปัจจัยที่ส่งผล, ความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง, องค์กรสมรรถนะสูง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช  2) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จำนวน 766 คน เนื่องจากในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เส้นทาง  ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะต้องมีตัวอย่างจำนวนอย่างน้อย 300 ตัวอย่าง จากนั้นผู้วิจัยจับสลากรายชื่อแรก ส่วนรายชื่อถัดไปจะห่างกัน 3 รายชื่อ จนครบจำนวนตัวอย่างที่ต้องการคือ 300 คน

ผลการวิจัย พบว่า โมเดลสมการโครงสร้าง มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติไค-สแควร์ (gif.latex?\chi&space;2) มีค่าเท่ากับ 237.42 องศาอิสระ (df) มีค่าเท่ากับ 204 ค่า p-value มีค่าเท่ากับ 0.05431 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (gif.latex?\chi&space;2/ df) มีค่าเท่ากับ 1.298 เมื่อพิจารณาค่าความสอดคล้องจากดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.990 ค่า AGFI มีค่าเท่ากับ0.946 และค่า RMSEA มีค่าเท่ากับ 0.0235 ซึ่งผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การเรียนรู้ การสื่อสาร และความพร้อมการเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลทางตรงต่อความพร้อมการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีอำนาจในการพยากรณ์อยู่ที่ร้อยละ 0.34

References

Brokaw, G. S., & Mullins, J. M. (2006). In Pursuit of High Performance-Part I in The Public Manager. The Quarterly for Practitioners, 35(4).

Buytendijk, F. (2006). Five Keys to Building High Performance Organization. Business Performance Management Magazine, 24.

Comrey, A. L., & Lee, H. B. (1992). A First Course in Factor Analysis (2nd ed.). New Jersey: Erlbaum Tabachnick and Fidell (2001).

Cummings, T. G., & Worley, C. G. (2005). Organization Development and Change (8th ed.). Ohio: Thomson South-Western.

De Waal, A. A. (2007). The Characteristics of High Performance Organization. Business Strategy Series. 8(3).

Dtirakanon, S. (2005). Research Methods in Social Science: A Guide to Practice (Type No.5). Bangkok: The Press of Chulalongkorn University. [In Thai]

Eul-Im, O., Gu, K., & Young-Tae, B. (2009). The Effects of Organizational Learning on Organizational Change and Performance in Local Public Agency. Korean Society & Study on Administration, 25(6), 55.

George, J. M. & Jones, G. R.. (2005). Organizational Behavior. (4th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Holbeche, L. (2005). The High Performance Organization: Creating Dynamic Stability and Sustainable Success. Oxford: Elsevier/Butterworth-Heinemann.

Jitarree, D. (2004). Factors Affecting the University Faculty to Teach Research Service and Community Service. Educational Research News, 17(3). [In Thai]

Jupp, V., & Younger, M. P. (2004). A Value Model for the Public Sector, Outlook Journal, February.

Kanjanawasi, S. (2001). Selection of Appropriate Statistics for Research (4th edition), Bangkok: Boonsiri Publication. [In Thai]

Laksana, S. (2001). Research the Curriculum and the Teaching Process. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Office of the FDA. [In Thai]

Lorsuwannarat, T. (2005). Knowledge Management in Business Organizations. Bangkok: Thammamon Publication. [In Thai]

McClelland, D.C., (1973). Testing for Competence Rather than Intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14

Piwngern, M. (2011). The Relationship Between Transformational Leadership and Effectiveness of the Administration of the Sub-District Administrative Organization in Sakon Nakhon Province. Thesis: Sakon Nakhon Rajabhat University. [In Thai]

Ratsameechoht, J. (2010). Human Potential Development Approach with Competency Based Learning. Bangkok: Siriwatana Interprint. [In Thai]

Robbins, S. P. & Coulter, M. (2008). Management. New Jersey: Prentice Hall.

Sinlarat, P. (2006). Creative Education and Productivity. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [In Thai]

Stone, R. J. (1998). Human Resource Management. (3rd ed.). New York: John Wiley and Sons.

Wichianpanya, P. (2002). Fundamentals and Application Management. Bangkok: ExportsNet. [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-31

How to Cite

บุญสิน อ. (2020). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 18(2), 87–94. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/stou-sms-pr/article/view/241649