แบบจำลองเชิงสาเหตุของ ความต้องการศึกษาต่อและความพึงพอใจในมหาวิทยาลัย

ผู้แต่ง

  • ชวาลา ละวาทิน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์

คำสำคัญ:

ความต้องการศึกษาต่อ, ความพึงพอใจ, สมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน

บทคัดย่อ

     การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความต้องการในการศึกษาต่อกับความพึงพอใจ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ จำนวน 242 คน และทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จากประชากรทั้งหมด 300 คน การวัดความต้องการศึกษาต่อและความพึงพอใจด้วยสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน ผลการวิจัยพบว่าความต้องการในการศึกษาต่อมีความสัมพันธ์ทางตรงเชิงบวกกับความพึงพอใจของนักศึกษา

References

เกษมะณี การินทร์ และคณะ.(25558). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

จุฑามาศ ชูจินดา และคณะ.(2555). รายงานการวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ในเขตนนทบุรี. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.

ฉันธะ จันทะเสนา และคณะ. (2560). การศึกษาความพึงพอใจในคุณภาพการบริการทางอิเล็กทรอนิกส์. วารสารบริหารธุรกิจ. 4(153), 45-63.

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร.(2555). ระเบียบวิธีการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์ มีเดีย.

มีสิทธิ์ ชัยมณี.(2557). รายงานการวิจัยเรื่องการเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา คณะวิทยาการศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

วรญา ทองอุ่น และจันจิราภรณ์ ปานยินดี.(2560). ความพึงพอใจต่อหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทาลัยราชภัฏนครปฐม. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์. 2(1), 1-12.

สมศรี เพชรโชติ.(2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อหลักสูตรคหกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทาลัยรามคำแหง. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 11(3), 168-184.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

อัมพาพร นพรัตน์. (2558). รายงานการวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนตามหลักสูตรของสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลา. ยะลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

อาจารีย์ ประจวบเหมาะ.(2554). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดระบบการเรียนการสอนหลักสูตรการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารจันทรเกษมสาร. 17(33), 77-86.

อิสรีย์ โชว์วิวัฒนา.(2556). ความพึงพอใจของนักศึกษาปริญญาตรีที่มีต่อหลักสูตร คณะบัญชี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 33(ฉบับพิเศษ), 1-12.

Becker, Jan-Michael; Klein, Kristina and Wetzels, Martin. 2012. Hierarchical Latent Variable Models in PLS-SEM: Guidelines for Using Reflective-Formative Type Models. Long Range Planning. Vol. 45: 359-394.

Henseler, J., & Dijkstra, T. K. (2015) ADANCO 2.0. Kleve: Composite Mdeling, http://www.Composite madeling.com.

Ringle, C.M., Sarstedt,M. & Straub,D.W. (2012). A critical look at the use of PLS-SEM in MIS Quarterly. MIS Quarterly, 36(1), 3-14.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-25

ฉบับ

บท

บทความวิจัย