ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลผลิตข้าวของเกษตรกรชานเมือง: กรณีศึกษาบริเวณคลองหกวา (FACTOR AFFECTING RICE YIELD OF SUBURB FARMER: CASE STUDY OF KLONG HOK WAH REGION)

Authors

  • วรรณา ประยุกต์วงศ์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์

Keywords:

Rice Yield, Suburb Farmer,, Klong Hok Wah

Abstract

The objectives of this research were to study the general information of suburb farmer in Klong Hok Wah Region, to describe a production pattern of suburb farmer in Klong Hok Wah Region and to analyze factors affecting rice yield of suburb farmer. The population of this research was suburb farmer were registered by Agricultural Ministry in in Klong Hok Wah Region. The purposive sampling was applied in each village to cover whole region. 40 suburb farmers were selected as the sample size by purposive sampling methodology. Statistical methodologies were arithmetic mean, standard deviation as well as the average of rice product per rai in each category of suburb farmer. The research found that the majority of suburb farmers were men which were 50 years old average with the educational level of Pathomsuksa. The majority of production land was rented by suburb farmer which average land holding was 34 rai. The major capital of rice production was suburb farmer’s owner. The study of rice production pattern were to grow rice by buying a rice seed of RD 47 and RD 31, using chemical fertilizer and pesticide and having sub-contractors in every step of production process. The outputs of off-season rice production in the 2014 year were 741 kilogram per rai and were sold to a middleman at a price about 6,000-7,000 Baht per ton. The study of factor affecting rice product per rai of suburb farmers was land holding type and number of family member to help in farm. Although suburb farmers were a manager who hired sub-contractors to work on farm completely, there still was necessary for an extra family member, except himself to take care with their farm which made a rice product increased.

Downloads

Download data is not yet available.

References

[1] สุนทรีย์ อาสะไวย์. (2530). ประวัติคลองรังสิต : การพัฒนาที่ดินและผลกระทบต่อสังคม พ.ศ. 2431-2457. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[2] วรรณา ประยุกต์วงศ์; และคณะ. (2558). รายงานฉบับสมบูรณ์การวิจัยเชิงปฏิบัติการศึกษาชุมชนและการใช้หลักสูตรท้องถิ่นเพื่อการเตรียมพลเมืองอย่างมีส่วนร่วมสู่การสร้างชุมชนน่าอยู่อย่างเป็นสุข: กรณีศึกษาพื้นที่รอบคลังน้ำมัน ปตท. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ: สมาคมเครือข่ายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (The NETWORK).
[3] ธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม. (2556). ห้าทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงภาคการค้าระหว่างประเทศของไทย. ใน เอกสารประกอบการสอนวิชาเศรษฐกิจประเทศไทย. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[4] ฉลอง สุนทราวาณิชย์ (บรรณาธิการ). (2539). ร้อยปีคลองรังสิต. โครงการวิจัยนำร่องเฉลิมฉลองวโรกาสกาญจนาภิเษก. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[5] เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. (2557). อนาคตเกษตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[6] ณัฐนันท์ โรจนบุรานนท์. (2545). แนวทางการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ปริมณฑลกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[7] ปฐมพงศ์ สัจจะธีระกุล. (2545). ชาวนาไร้ที่ดินทำกินเป็นของตนเอง บ้านคลองหกวา จังหวัดปทุมธานี. ใน รายงานวิจัยย่อยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาสในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[8] สำนักงานการเกษตร จังหวัดปทุมธานี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2557). รายงานการประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน 2556. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2558, จาก www.pathumthani.doae.go.th/.../PM27062013.doc
[9] สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี. (2556). รายงานการประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน ครั้งที่ 9/2556 วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2558, จาก www.pathumthani.doae.go.th//PM27062013.doc
[10] กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2557). ระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2558, จาก http://agtech.doae.go.th/dbdisplay/3.php
[11] สมพร อิศวิลานนท์. (2552). พลวัตเศรษฐกิจการผลิตข้าวไทย. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เลิศชัยการพิมพ์.
[12] อนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ; และ อ้อมใจ แตรสังข์. (2558). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวนาปรังของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุพรรณบุรี ปีการเพาะปลูก 2555/2556. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร์ครั้งที่ 9 วันที่ 8 มิถุนายน 2555. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[13] อัมมาร สยามวาลา. (2557). สัมภาษณ์โดย ปกป้อง จันวิทย์ (บรรณาธิการ). 30 ปี ทีดีอาร์ไอ 30 ปี การพัฒนาเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

Downloads

Published

2018-08-17

How to Cite

ประยุกต์วงศ์ ว. (2018). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลผลิตข้าวของเกษตรกรชานเมือง: กรณีศึกษาบริเวณคลองหกวา (FACTOR AFFECTING RICE YIELD OF SUBURB FARMER: CASE STUDY OF KLONG HOK WAH REGION). Srinakharinwirot Research and Development Journal of Humanities and Social Sciences, 10(19, January-June), 156–170. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/140823