การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพน้ำสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น A DEVELOPMENT OF THE SCIENCE ACTIVITY PACKAGE USING STEM EDUCATION APPROACH ON WATER TREATMENT FOR LOWER SECONDARY STUDENTS

Authors

  • น้ำฝน คูเจริญไพศาล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • รังสิยา ขวัญเมือง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ลลิตา มาเอี่ยม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Keywords:

Science Activity Packages, STEM Education, Water Treatment, Lower Secondary Students

Abstract

            The purposes of this study were 1) to develop the science activity packages based on STEM Education on water treatment for lower secondary students and to assess the quality of the packages by experts, 2) to study the students’ learning outcomes, and 3) to study the students’ satisfaction toward learning with the science activity packages on water treatment. The participants of this study were the lower secondary students (n=21) of Nampood School, Trang province by purposive sampling. The research tools consisted of: 1) the science activity packages based on STEM Education on water treatment for lower secondary students, 2) the assessment form of the quality of the science activity packages by experts, 3) the learning achievement tests, and 4) the students satisfaction questionnaire toward learning the science activity packages. The result indicated that: 1) the science activity packages consisted of 3 activities: activity 1: exploring water quality, activity 2: designing and creating of water treatment model, and activity 3: testing the effectiveness of the model. The quality of the science activity packages by experts was at level of good quality, 2) the students’ learning achievement was mean scores at 74.49%, which was higher than 70% of criteria at the statistically significant .05 level, and 3) the students’ satisfaction towards learning with the science activity packages was at very good level

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

น้ำฝน คูเจริญไพศาล, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

รังสิยา ขวัญเมือง, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ลลิตา มาเอี่ยม, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

References

[1] วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
[2] สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). ความรู้เบื้องต้นสะเต็ม Science Technology Engineering and Mathematics Education ช่วงชั้นที่ 1 – ช่วงชั้นที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
[3] เกศินี อินถา; ภานุพัฒน์ ชัยวร; และ อโนดาษ์ รัชเวทย์. (2558). การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง “มหัศจรรย์ยางพารา” โดยใช้แนวการสอน STEM กับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารครุพิบูล. 2(ฉบับพิเศษที่ 1): 132-141.
[4] กรมควบคุมมลพิษ. (2558). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2557. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรมควบคุมมลพิษ.
[5] กรุงเทพมหานคร. (2551). กังหันชัยพัฒนา:น้ำพระราชหฤทัย น้ำใส ให้ชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรุงเทพมหานคร.
[6] ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[7] น้ำฝน คูเจริญไพศาล; สุรเชษฐ์ หิรัญสถิตย์; ณัทชาภา สบเหมาะ; และ วรรณลดา ห้วยกัญจน์. (2556, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องสารชีวโมเลกุล สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี). 5(10): 1-19.
[8] น้ำฝน คูเจริญไพศาล; กนกวรรณ ผิวเหมาะ; บุษพร โนนเปือย; และ ปรญา เหลืองแดง. (2559, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องสารละลายกรด-เบสโดยเน้นกระบวนการคิด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 8(16): 16-28.
[9] น้ำฝน คูเจริญไพศาล; กิ่งแก้ว แก้วทิพย์; คุณัญญา นงค์นวล; และ ปิยลักษณ์ หะริตวัน. (2560, มกราคม-มีนาคม). ผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการแปรรูปน้ำยางพารา ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (STEM). วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(1): 23-37.
[10] กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.curriculum51.net/upload/cur_20081218150852.pdf
[11] สิรินภา กิจเกื้อกูล. (2558, เมษายน-มิถุนายน). สะเต็มศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17(2): 201-207.
[12] มนตรี จุฬาวัฒนทล. (2556, พฤษจิกายน-ธันวาคม). สะเต็มศึกษาประเทศไทยและทูตสะเต็ม (STEM Education Thailand and STEM Ambassadors). นิตยสาร สสวท. 42(185): 14-18.
[13] ศิริลักษณ์ ขาวลุ่มบัว. (2558, มกราคม-เมษายน). การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการแบบ STEM รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมเรื่องอ้อย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศึกษาศาสตร์. 26(1): 224-236.
[14] สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). มาตรฐานสะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ: ซัคเซสพับลิเคชัน.

Downloads

Published

2019-06-27

How to Cite

คูเจริญไพศาล น., ขวัญเมือง ร., & มาเอี่ยม ล. (2019). การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพน้ำสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น A DEVELOPMENT OF THE SCIENCE ACTIVITY PACKAGE USING STEM EDUCATION APPROACH ON WATER TREATMENT FOR LOWER SECONDARY STUDENTS. Srinakharinwirot Research and Development Journal of Humanities and Social Sciences, 11(21, January-June), 13–38. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/198158