อิทธิพลของทรัพยากรในงานและความมุ่งมั่นในการทำงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานธนาคารพาณิชย์ของรัฐ ในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว THE INFLUENCE OF JOB RESOURCES AND WORK ENGAGEMENT ON EMPLOYEES’ PERFORMANCE IN STATE-OWNED COMMERCIAL BANK IN VIENTIANE CAPITAL, LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC
คำสำคัญ:
ทรัพยากรในงาน, ความมุ่งมั่นในการทำงาน, ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน, ธนาคารพาณิชย์ของรัฐบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อประเมินระดับทรัพยากรในงาน ความมุ่งมั่นในการทำงาน และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของทรัพยากรในงานที่มีต่อความมุ่งมั่นในการทำงานของพนักงาน 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของทรัพยากรในงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน 4) เพื่อศึกษาอิทธิพลของความมุ่งมั่นในการทำงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน 5) เพื่อศึกษา อิทธิพลทางอ้อมของทรัพยากรในงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ พนักงานธนาคารพาณิชย์ของรัฐในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 313 คนโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และโมเดลสมการโครงสร้าง
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานธนาคารพาณิชย์ของรัฐในนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ประเมินทรัพยากรในงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง พนักงานมีความมุ่งมั่นในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีผลการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน ผลการทดสอบโมเดลสมการโครงสร้างที่ปรับใหม่พบว่า มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า c2/df = 1.457, p-value = 0.112, GFI = 0.985, AGFI = 0.956, CFI = 0.997, NFI = 0.989, RMR = 0.012 และ RMSEA = 0.038) ตัวแปรเชิงสาเหตุในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลการปฏิบัติงานของพนักงานได้ร้อยละ 64.0 ทรัพยากรในงานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมในเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 นอกจากนั้นความมุ่งมั่นในการทำงานยังมีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
Downloads
References
[2] Schaufeli, W. B., M. Salanova, V. Gonzáles-Romá; and A. B. Bakker. (2002). The measurement of engagement and burnout: A two sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies. 3: 71-92.
[3] Libano, M. D., S. Llorens, M. Salanova; and W. B. Schaufeli. (2012). About the dark and bright sides of self-efficacy: Workaholism and work engagement. The Spanish Journal of Psychology. 15(2): 688-701.
[4] Haynie, J. H., K. W. Mossholder; and S. G. Harris. (2016). Justice and job engagement: The role of senior management trust. Journal of Organizational Behavior. 37: 889–910.
[5] Caesens, G.; and F. Stinglhamber. (2014). The relationship between perceived organizational support and work engagement: The role of self-efficacy and its outcomes. Revue européenne de psychologie appliquée. 64: 259-267.
[6] Matthews, L. M., A. R. Zablah, J. F. Hair; and G. W. Marshall. (2016). Increased engagement or reduced exhaustion: Which accounts for the effect of job resources on salesperson job outcomes?. Journal of Marketing Theory and Practice. 24(3): 249–264.
[7] Schaufeli, W. B.; and A. B. Bakker. (2004). Job demand, job resources, and their relationship with burnout and engagement: A multi-sample study. Journal of Organizational Behavior. 25: 293-315.
[8] ธนาคารแห่ง สปป.ลาว. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันการเงิน-เงินตราของ สปป.ลาว ระยะ 10 ปี 2559-2568 และวิสัยทัศน์ถึงปี 2573. ม.ป.พ.
[9] Sim, H. P., A. D. Szilagyi; and R. T. Keller. (1976). The measurement of job characteristics. Academy of Management Journal. 19(2): 195-212.
[10] Hammer, T. H., Q. P. Saksvik, K. Nytrø, H. Torvatn; and M. Bayazit. (2004). Expanding the psychosocial work environment: Workplace norms and work–family conflict as correlates of stress and health. Journal of Occupational Health Psychology. 9(1): 83–97.
[11] Karatepe, O. M.; and O. A. Olugbade. (2009). The effects of job and personal resources on hotel employees’ work engagement. International Journal of Hospitality Management. 28: 504–512.
[12] Schaufeli, W. B., A. Bakker; and M. Salanova. (2006). The measurement of work engagement with a short questionnaire: A cross-national study. Educational Psychological Measurement. 66(4): 701-716.
[13] Goodman, S. A.; and D. J. Svyantek. (1999). Person-organization fit and contextual performance: Do shared values matter. Journal of Vocational Behavior. 55(2): 254-275.
[14] สุพัตรา จุณณะปิยะ. (2546). คู่มือการวิจัยทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.
[15] กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.
[16] จารุวรรณ ยอดระฆัง. (2554). การทดสอบแบบจำลองปัจจัยเอื้อต่อการทำงานและทรัพยากรส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการริเริ่มด้วยตนเองภายใต้บทบาทสื่อของความผูกพันในงาน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[17] ผดารัช สีดา. (2555). อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานของพนักงานโดยมีความผูกใจมั่นในงานและความเหนื่อยหน่ายในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[18] สิริพร ทรัพยะประภา. (2555). อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานต่อความผูกใจมั่นในงานโดยมีทุนทางจิตวิทยาเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[19] ดาริกา ปิตุรงคพิทักษ์. (2557). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความต้องการในงาน ทรัพยากรในงานสุขภาวะและการจัดแจงในงาน กับความผูกพันในงานของพนักงาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
(จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[20] กำไล ปราณี. (2559). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยเอื้อในการทำงาน การจัดการแบบเชิงรุกความผูกพันในงานและความเหนื่อยล้าในงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต (การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา). มหาวิทยาลัยบูรพา.
[21] Metin, U. B., T. W. Taris, M. C. W. Peeters, I. V. Beek; and R. V. V. D. Bosch. (2015). Authenticity at work – a job-demands resources perspective. Journal of Managerial Psychology. 31(2): 483-499.
[22] Yuan, Z., Y. Li; and L. E. Tetrick. (2015). Job hindrances, job resources, and safety performance: The mediating role of job engagement. Applied Ergonomics. 51: 163-171.
[23] Bakker, A. B.; and P. M. Bal. (2010). Weekly work engagement and performance: A study among starting teachers. Journal of Occupational and Organizational Psychology. 83: 189-206.
[24] ยุทธการ ก้านจักร. (2554). การรับรู้วัฒนธรรมองค์การ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความยึดมั่นผูกพันในงานกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[25] นวลพรรณ ชื่นประโยชน์. (2554). ความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ความผูกพันในงานและความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรค ต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานสินค้าเกษตรส่งออก. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[26] มนพะงา เล็กขาว. (2557). ความมุ่งมั่นในการทำงาน และการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสน์ศาสตร์). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
[27] Rich, B.L., J.A. Lepine; and E.R. Crawford. (2010). Job engagement: Antecedents and effects on job performance. Academy of Management Journal. 53(3): 617–635.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivs 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของวารสารสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต