แนวคิดทุนทางสังคมของโรเบิร์ต ดี พัตนัม และข้อท้าทาย ROBERT D. PUTNAM’S CONCEPT OF SOCIAL CAPITAL AND ITS CHALLENGES
Keywords:
Social capital, Political participation, Governance, DemocracyAbstract
บทคัดย่อ
โรเบิร์ต ดี พัตนัม ถือได้ว่าเป็นนักรัฐศาสตร์ที่ทรงอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในโลกปัจจุบัน
การศึกษาเรื่องทุนทางสังคมของพัตนัมได้ปลุกกระแสให้นักวิชาการในหลากหลายสาขาวิชาหันมาศึกษาถึงบทบาทและผลของทุนทางสังคมอย่างจริงจัง ทั้งนี้เนื่องจากพัตนัมได้เสนอว่าทุนทางสังคม ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญสามประการคือ ความไว้วางใจ การเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และเครือข่ายทางสังคมนั้นสามารถที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองและสนับสนุนให้การทำงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลดีอย่างยิ่งต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ตามบทความชิ้นนี้เสนอว่างานของพัมนัมยังมีข้อจำกัดซึ่งยังต้องการคำอธิบายให้กระจ่างชัดมากกว่านี้ และที่สำคัญที่สุดคือ บทความชิ้นนี้ต้องการเสนอว่าข้อเสนอของพัตนัมนั้นไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นได้ทั่วทุกแห่ง
Abstract
Robert D. Putnam can be considered as one of the most important political scientists working on an issue of social capital. His concept of social capital has had a great influence on contemporary political studies. The major claim made by Putnam is that there are three
core components of social capital: trust, norms of reciprocity and networks of civic engagement. The combination of these three components acts to increase political participation and enhances
successful democratic government and modern democracy. However, this study argues that his theory shows clear limitations, needs some further explanations and cannot be employed effectively in every context.
Downloads
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Srinakharinwirot Research and Development Journal of Humanities and Social Sciences is licensed Under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivs 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) License, Unless Otherwise Stated. Please Read Journal Policies Page for More Information on Open Access, Copyright and Permissions.