โมเดลเชิงสาเหตุปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตอบสนองต่อการถูกคุกคามทางเพศในที่ทำงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยเพศหญิง CAUSAL MODEL OF FACTORS INFLUENCING THE RESPONSE TO SEXUAL HARASSMENT IN THE WORKPLACE OF FEMALE UNIVERSITIES PERSONNEL

Authors

  • ภาวศุทธิ อุ่นใจ นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • มานพ ชูนิล คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ศจีมาจ ณ วิเชียร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Keywords:

การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุ การคุกคามทางเพศในที่ทำงาน การตอบสนองต่อการถูกคุกคามทางเพศ

Abstract

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือการพัฒนาและตรวจสอบความเที่ยงตรงของโมเดลเชิงสาเหตุปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตอบสนองต่อการถูกคุกคามทางเพศในที่ทำงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยเพศหญิง กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรมหาวิทยาลัยเพศหญิงจำนวน 587 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนจาก 12 มหาวิทยาลัย
เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.92-0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างความสัมพันธ์
เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตอบสนองต่อการถูกคุกคามทางเพศในที่ทำงานโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
และตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลตามสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์  ผลการวิจัยพบว่า โมเดลมีความกลมกลืนโดยมีค่าดัชนีต่างๆ ดังนี้คือ Chi-Square of goodness of fit = 53.15 ,df =42 Chi-square/df = 1.26
ค่า RMSEA =0.020 ค่า GFI =0.99ค่า AGFI = 0.96และ ค่า CN = 730.97 และปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุดไปยังการตอบสนองต่อการถูกคุกคามทางเพศในที่ทำงานคือ ตัวแปรความกล้าแสดงออก

 

  

Abstract

The purposes of this research are to develop and validate the causal model of factors influencing the responses to sexual harassment in the workplace  of female  universities personnel. The sample of this research was a proportional stratified random sampling of 587 female universities personnel members from all regions of Thailand. The data was collected by questionnaires with the reliability ranging from 0.92 to 0.96. Hypothesis testing regarding the causal model of factors influencing the responses to sexual harassment in the workplace, were analyzed by computer programs. The research findings revealed that the casual model of factors influencing the response to sexual harassment in the workplace of the female university personnel fitted the empirical data. The Model indicated that the
chi-square/df = 1.26, P-Value = 0.12, RMSEA= 0.020, GFI = 0.99, AGFI  = 0.96 and CN = 730.97. The highest effective factor response to sexual harassment in the workplace of female universities personnel is assertiveness.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ภาวศุทธิ อุ่นใจ, นักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มานพ ชูนิล, คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ศจีมาจ ณ วิเชียร, วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Downloads

Published

2016-04-08

How to Cite

อุ่นใจ ภ., ชูนิล ม., & ณ วิเชียร ศ. (2016). โมเดลเชิงสาเหตุปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตอบสนองต่อการถูกคุกคามทางเพศในที่ทำงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยเพศหญิง CAUSAL MODEL OF FACTORS INFLUENCING THE RESPONSE TO SEXUAL HARASSMENT IN THE WORKPLACE OF FEMALE UNIVERSITIES PERSONNEL. Srinakharinwirot Research and Development Journal of Humanities and Social Sciences, 7(13, January-June), 141–152. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/54529