ตัวแบบของโซโล: กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์การคิดเชิงคณิตศาสตร์ SOLO MODEL: A FRAMEWORK FOR ANALYZING MATHEMATICAL THINKING

Authors

  • ณัชชา กมล สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Keywords:

ตัวแบบของโซโล การคิดเชิงคณิตศาสตร์ ระดับการคิด

Abstract

บทคัดย่อ

            กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์การคิดเชิงคณิตศาสตร์ที่เป็นที่นิยมอีกแนวคิดหนึ่งคือ ตัวแบบของโซโล
ซึ่งตัวแบบดังกล่าวใช้แนวคิดในการพิจารณาระดับการคิดของนักเรียนจากโครงสร้างของผลการเรียนรู้ที่นักเรียนตอบสนอง หรือโครงสร้างของลักษณะผลการเรียนรู้ที่ได้จากการสังเกต ซึ่งมีขั้นตอนในการพิจารณาคือ
การพิจารณาถึงรูปแบบการตอบสนองของนักเรียนในแต่ละช่วงวัยก่อนเป็นอันดับแรก จากนั้นจึงดำเนินการวิเคราะห์ต่อว่า นักเรียนคนดังกล่าวมีระดับการคิดอยู่ในระดับใด นอกจากนี้ตัวแบบของโซโลยังสามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์ระดับการคิดเชิงเรขาคณิตแทนการวิเคราะห์ตามรูปแบบของแวนฮีลี่ได้อีกด้วย

 


 

Abstract

             A increasingly popular framework used to analyze mathematical thinking is the SOLO model which classifies students’ thinking levels basing on the structure of outcomes of the student response or the structure of the observed learning outcomes. The procedural steps start from the modes of functioning generated by the students at each developmental stage. Afterward, the student’s thinking is classified to a certain thinking level. The SOLO model could also be used to analyze the geometric thinking alternating the Van Hiele Model.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biography

ณัชชา กมล, สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Downloads

Published

2016-04-12

How to Cite

กมล ณ. (2016). ตัวแบบของโซโล: กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์การคิดเชิงคณิตศาสตร์ SOLO MODEL: A FRAMEWORK FOR ANALYZING MATHEMATICAL THINKING. Srinakharinwirot Research and Development Journal of Humanities and Social Sciences, 7(14, July-December), 218–227. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/54699