การเรียนรู้เชิงรุกและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning)

Main Article Content

พรทิพย์ วงศ์ไพบูลย์

Abstract

ยุคของข้อมูลข่าวสารและการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมโลกไร้พรมแดนเกิดระบบการสื่อสารไร้พรมแดน ห้องสมุดกลายเป็นสิ่งไม่จำเป็นมากพอหากห้องสมุดนั้นไม่ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาให้เข้าสู่ระบบห้องสมุดสมัยใหม่ เพราะการเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถกระทำได้ทุกที่ทุกเวลา ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตน์ส่งผลให้ผู้สอนและผู้เรียนจำเป็นจะต้องมีขีดความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและเป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นอย่างมากมายทุกวินา ส่งผลให้เนื้อหาในรายวิชามีมากขึ้นเกินกว่าที่จะเรียนรู้ได้หมดอย่างครบถ้วนได้ทั้งหมดจากในห้องเรียน การสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า อธิบาย” โดยครูอาจารย์ผู้สอนไม่สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนในชั้นเรียนไปปฏิบัติได้ดี ครูอาจารย์ในศตวรรษที่ 21

Article Details

How to Cite
วงศ์ไพบูลย์ พ. (2017). การเรียนรู้เชิงรุกและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning). Journal of Yanasangvorn Research Institute Mahamakut Buddhist University, 8(2), 327–336. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/178540
Section
Academic Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. “การศึกษาความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาไทย”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรมการศาสนา, 2545.

ไพบูลย์ เปานิล. เอกสารประกอบการอบรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏจันทรเกษม, 2546.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2555.

วิภาภรณ์ ภู่วัฒนกุล. “ใครคือผู้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางที่แท้จริง”. วารสารวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ. 2 6มกราคม - มีนาคม 25437: 44- 47.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: เลิฟแอนด์เลิฟเพรส, 2542.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันระดับอุดมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2551.

สิริพร ปาณาวงษ์. “Active Learning เทคนิคการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21”. บทความวิชาการ. นครสวรรค์: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 2557.

สมศักดิ์ เด่นเดชา. “ทักษะการบริหารงานและประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา จังหวัดยะลา”. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2543.

C.C. Bonwell, J.A. Eison. “Active Learning: Creating Excitement in the Classroom”. ERIC Digest. Washington D.C.: ERIC Clearinghouse on Higher Education, 1991.

Salandanan, L.V. “Relationship Between Conceptual Style and Mathematical Creativity”. Dissertation Abstracts International. 36 612 A7; June, 1972.