ความสำคัญของภาษาอังกฤษในประชาคมอาเซียน

Main Article Content

พระมหาสมัคร มหาวีโร

Abstract

นับตั้งแต่ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน ได้ร่วมมือจัดตั้งกรอบอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) โดยการริเริ่มและรวมตัวกันของประเทศสมาชิก 5 ประเทศในช่วงระยะเริ่มต้น คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และประเทศไทย โดยการจัดตั้งเป็นประชาคมอาเซียนเมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ต่อมาได้เปิดรับรับสมาชิกใหม่จากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มเติม ตามลำดับได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม พ.ศ.2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2538 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2540 สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2540 และราชอาณาจักรกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ.2542 จึงได้มีการพัฒนาร่วมมือดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ จนรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียนในปัจจุบัน

Article Details

How to Cite
มหาวีโร พ. (2016). ความสำคัญของภาษาอังกฤษในประชาคมอาเซียน. Journal of Yanasangvorn Research Institute Mahamakut Buddhist University, 7(1), 170–180. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/185088
Section
Academic Article

References

ประชาชาติธุรกิจ. (2555). ศักยภาพข้าว ถั่วเหลือง ข้าวโพด กาแฟ มันสำปะหลัง กับ AEC(ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2556, จาก www.thai-aec.com/242

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556) “ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์: ผลกระทบของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ต่อโครงสร้างเศรษฐกิจมหภาคของไทย”,กรุงเทพฯ.

วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2556). การเตรียมความพร้อมด้านอุตสาหกรรมเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน.สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2556, จาก http://www.eit.or.th/q_download/_2556/02042013ne2013/13.03.26.

บุบผา อยู่ทรัพย์. (2555). การพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาผ่านการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน. วารสารวิจัย มสด 8(2): 189-204.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). เอกสารประกอบการประชุมประจำปี: เส้นทางประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. ภาษาอังกฤษของคนไทย อยู่ตรงไหนในอาเซียน,สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2556, จาก http://www.thai-aec.com/อังกฤษคนไทย-อาเซียน

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. ภาษาอังกฤษคนไทยโคม่า...กูรูแนะเด็กไทยพัฒนาอังกฤษเตรียมพร้อมสู่ AEC สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2556, จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1367224176&grpid=03&catid=17&subcatid=1700

สมเกียรติ อ่อนวิมล “การการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอื่นในภูมิภาค กับอนาคตของไทยในอาเซียน”

บุญเลิศ วงศ์พรม.(ม.ป.ป.) กรุงเทพธุรกิจ, สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2556, จาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637424

พัชนี วิยาภรณ์. “สรุปการอภิปราย กิจกรรม KM สำนักภาษาต่างประเทศ หัวข้อการสนับสนุนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. ๒๐๑๕” วันจันทร์ที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๕

กระทรวงศึกษาธิการ. แผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (พ.ศ.2549 – 2553).

อินทรชัย พาณิชกุล. โพสต์ทูเดย์ ข่าววิเคราะห์ ...วิกฤตภารศึกษาไทย, สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2556, จาก http://www.posttoday.com/analysis/report/402500

ธีรวิทย์ ภิญโญณัฐกานต์. (1995). Foreign Languages for Thailand : Why and How? Suranaree J. Sci. Technol. : 203-206

อดิศา เตียว และคณะ.(2547). โครงการข้อมูลพื้นฐานเพื่อการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ ระดับอุดมศึกษาในภาคใต้. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Fahmongkolchai, A. (2011) . Needs and problems in English listening and speaking skills of CIMB Thai Bank Tellers. Master’s Project, M.A. (Business English for International Communication). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University.

Soureshjani, K and Riahipour, P. (2012). Demotivating factors on English speaking skill: A study of EFL language learners and teachers’ attitudes. World Applied Sciences Journal, 17(3): 327-339.

Sursattayawong, O. (2006). A survey of English speaking problems of nurses at Rajavithi Hospital (Master’s Degree). Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand.

Tribolet, C. (2012). Using Cognitive Strategies to Improve English Speaking Skill and Self-confidence. American Journal of Education Sciences. 2(3): 36-40.

Wannakorn Matthuchad. (2012). Stamford Journal. Vol.4 No.2 . June 2012 – December 2012 .Stamford International University. ISSN 1906-1838