STRATEGIC LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN PRACHARATH SCHOOL PROJECT : CASE STUDY OF PHATTHALUNG PROVINCE

Main Article Content

วรรณฤดี มณฑลจรัส
อนุสรา สุวรรณวงศ์

Abstract

This research aimed to 1) study of strategic leadership of school administrators in Pracharath school project: case study of Phatthalung province and 2) study the strategic leadership development guidelines for school administrators in the Pracharath school project: case study of Phatthalung province. The population of this study was teachers and administrators, totally 135. Data were collected by questionnaire and interview form. The data was analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. The findings were as follows: 1) strategic leadership of school administrators in Pracharath school project: case study of Phatthalung province is at the highest level which consisted of visionary performance enhancement, master of leadership, professional human resource management, identity of management and strategic management. 2) strategic leadership development guidelines of school administrators in Pracharath school project: case study of Phatthalung province consisted of two guidelines. The first guideline was strategic formulation consisted of; (1) strategic formulation workshop, (2) strategic comparison by benchmarking process, and (3) strategic review by experts. The second guideline was strategic implementation consisted of (1) strategic communication workshop, (2) developing role of change agent, and (3) visiting best practice school. This research has generated knowledge about the strategic leadership development of administrators which will be beneficial for furthering the school's operation.

Article Details

How to Cite
มณฑลจรัส ว., & สุวรรณวงศ์ อ. (2019). STRATEGIC LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN PRACHARATH SCHOOL PROJECT : CASE STUDY OF PHATTHALUNG PROVINCE. Journal of Yanasangvorn Research Institute Mahamakut Buddhist University, 10(2), 244–260. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/232391
Section
Research Article

References

กนกวรรณ ภูษาแก้ว. (2557). การนำเสนอแนวทางการกำหนดกลยุทธ์การจัดการศึกษาสำหรับสถานศึกษาเอกชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.)

คุรุสภา. (2556). มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2561, จาก http://www.ksp.or.th/ksp2013/content/view.php?mid=136&did=255&tid=3&pid=6.

จินตนา จันทร์เจริญ. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การสำหรับโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนด้วยการเทียบเคียงสมรรถนะ. (วิทยานิพนธ์ดุษฏีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

จิรัชญา ผาลา. (2558). การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน ในเขตภาคเหนือตอนบน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 38(1), 133.

ธัญญลักษณ์ เหล่าจันทร์. (2551). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทผู้นำทางการศึกษา กับกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1 และเขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา).

บวร เทศารินทร์. (2557). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการบริหารเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 8(1), 137.

ปัญญา คำพยา. (2558). การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ. พศ.สาร, 7(79), 6.

พรรณรภา อิงพงษ์พันธ์. (2554). การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารกับผลการปฏิบัติงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 1. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

พระอาทิตย์ ทองบุราณ. (2555). ภาวะผู้นำเชิงยุทธศาสตร์ นักศึกษาวิทยาลัยการทัพบก ชุดที่ 56. Online Journal of Education. 7(1), 2361.

เพ็ญพิชชา โคตรชาลี. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงของโรงเรียน สังกัดเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.)

รินรดา น้ำใจสุข. (2556). การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะประจำสายงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรีเขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

วิทยา ด่านธำรงกูล. (2546). การบริหาร: Management. กรุงเทพฯ: เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

ศราวุธ ทาคำและคณะ. (2557). สรรสาระองค์กรแห่งความสุข เล่ม 1 : กระบวนการเคลื่อนงานสร้างสุข.กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด.

ศิริพร อินทิแสง. (2559). การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติของ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)

สกนธ์ชัย ชะนูนันท์. (2556). การเข้าร่วมงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติAmerican Educational Research Association Annual Conference 2013 ณ เมืองซานฟรานซิสโกประเทศ สหรัฐอเมริกา. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15(3), 127.

สมชาย เทพแสงและทัศนา แสวงศักดิ์. (2553). ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนในโรงเรียนของจังหวัดทางภาคเหนือ. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์). 2(ฉบับพิเศษ), 201-204.

สฤณี อาชวานันทกุล. (2555). ความตกต่ำของการศึกษาไทย: O-NET และ PISA บอกอะไรกับเราสืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2560, จากhttp://www.tcijthai.com/news/2012/02/scoop/170.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สุภาพร ภิรมย์เมือง. (2556). การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารกับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร)

สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล. (2559). สรุปการบรรยายพิเศษ หัวข้อ Change Management หลักสูตรการ พัฒนาผู้บริหารสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2560, จากhttp://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/data/australia/CM.pdf.

อภิชาติ เหมฬา. (2556). การบริหารเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษามัธยมศึกษา ในจังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี).