A SYNTHESIS OF RESEARCHES ON MONKS’ HEALTH PROMOTION DURING 2013-2018

Main Article Content

Manop Nakkanrian
Banchuen Nakkanrian
Chatsuphang Saramart

Abstract

This article was the documentary research. Its objective was to draw conclusion from synthesizing of researches on health promotion of monks. The criterions of selecting research were that research articles were published in Thai Journal Online (Thaijo) and published within 5 years, during 2013-2018. There were 10 research papers according to the criterions. A research synthesis applied domain analysis techniques with the use of software packages for qualitative research and for data analysis. The results of the study showed that the monks’ health promotion consisted of 6 components : to encourage Buddhists to offer healthy food to monks and to create nutrition media, to support society which was related to the concept of "merit", to support a form of physical exercises by self-management that did not violate the monk's ethics, to support the physical environment which was conducive to health according to the principles of 7 Sappayas, to support the annual health checkup and to support organizing training and seminars to provide knowledge and understanding about health care for monks. Therefore, the monks’ health promotion was sub-component of the health care guidelines according to the public health system and the promotion of the quality of life. In addition, the monks’ health promotion had relation with food intake, exercise by walking and cleaning the temple, stress management, avoiding things that were harmful to health, spatial environmental management, social environmental management and values and beliefs

Article Details

How to Cite
Nakkanrian, M. ., Nakkanrian, B. ., & Saramart, C. . (2020). A SYNTHESIS OF RESEARCHES ON MONKS’ HEALTH PROMOTION DURING 2013-2018. Journal of Yanasangvorn Research Institute Mahamakut Buddhist University, 11(1), 13–23. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/244023
Section
Research Article

References

กัตติกา ธนะขว้าง, จิราพร เกศพิชญวัฒนา และชนกพร จิตปัญญา. (2553). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ : การวิเคราะห์อภิมาน. วารสารพยาบาลศาสตร์, 28(3), 60-68.

นัยนา ยอดระบํา และคณะ. (2556). การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ของประชาชนอําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา. วารสารสุขศึกษา, 36(1), 51-64.

ประหยัด ปญฺญาวโร. (2561). การจัดการสิ่งแวดล้อมวัดเพื่อดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ไทยตามแนวพระพุทธศาสนา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 6(4), 1578-1593.

ปัณณธร ชัชวรัตน์ และคณะ. (2557). รูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์. วารสารการวิจัยกาสะลองคํา, 8(1), 167-168.

ปิติณัช ราชภักดี. (2561). พฤติกรรมการดูแลสุภาพของพระภิกษุสงฆ์ ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 26(3), 199-207.

ผาสุก มุทธเมธา. (2535). คติชาวบ้านกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

พระกิตติญาณเมธี (สมเกียรติ รามัญวงศ์). (2561). การส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของพระสงฆ์ในจังหวัดลพบุรี. วารสารรัชต์ภาคย์, 12(25), 94-95.

พระครูสุวิธานพัฒนบัณฑิต และคณะ. (2558). การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพองค์รวมของพระสงฆ์ในจังหวัดขอนแก่น โดยเน้นการมีส่วนร่วมของเครือข่าย. วารสารสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น, 22(2), 117-118.

พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ). (2551). การศึกษาเชิงวิเคราะห์วิถีชีวิตพฤติกรรมสุขภาพ และ การดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์รวมของพระสงฆ์ตามที่ปรากฏในพระไตรปิฎก (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระนครศรีอยุธยา.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 16 ก หน้า 2, 19 มีนาคม 2550.

ลลิลทิพย์ ธนสมบัตินันท์. (2559). พฤติกรรมการตักบาตรและถวายภัตตาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของพระสงฆ์. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา, 23(3), 51-66.

วรลักษณ์ ชูกำเนิด, เอกรินทร์ สังข์ทอง และชวลิต เกิดทรัพย์. (2557). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บริบทโรงเรียนในประเทศไทย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 12(2), 123-134.

อลงกรณ์ สุขเรืองกูล และคณะ. (2560). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย. วารสารพยาบาลสาร, 44(พิเศษ), 38-48.

อวยชัย ธมฺมวโร (จันทระภา). (2559). ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพทางกายและใจของพระสังฆาธิการวัยทองในเขตอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา, 13(63), 23-24.

อัจฉริยา พ่วงแก้ว. (2561). พัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของพระสงฆ์: มุมมองของพระสงฆ์. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 12(1), 81-91.

อุดร สุทฺธิญาโณ (เกตุทอง). (2555). ศึกษาการประยุกต์ใช้กระบวนทัศน์และกระบวนการ เสริมสร้างสุขภาพตามแนวพระพุทธศาสนา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระนครศรีอยุธยา.

เอื้อมพร หลินเจริญ. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(1), 17-29.

Onwuegbuzie, Leech, and Collins. (2012). Qualitative Analysis Techniques for the Review of the Literature. The Qualitative Report, 17(56), 17-20.