แนวคิดว่าด้วยอำนาจรัฐภายใต้เจ้าผู้ครองนครของมาคิอาเวลลี และการได้มาซึ่งอำนาจของคณะรัฐประหารไทย

Main Article Content

กัญจิรา วิจิตรวัชรารักษ์
พระมหาอรุณ ปญฺญารุโณ
เกษฎา ผาทอง
สุพัตรา สันติรุ่งโรจน์
พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจริยคุณ

บทคัดย่อ

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สถานการณ์ทางการเมืองของรัฐไทยปรากฏการรัฐประหารมาแล้ว 13 ครั้ง คณะรัฐประหารได้อ้างความชอบธรรมในการยึดอำนาจโดยให้เหตุผลว่า เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและสถานการณ์วุ่นวายภายในประเทศการศึกษาแนวคิดว่าด้วยอำนาจรัฐผ่านงานเขียนเรื่อง “The Prince เจ้าผู้ปกครองนคร” ของมาคิอาเวลลี ซึ่งจากการศึกษาพบว่าสิ่งที่เหมือนกันระหว่างแนวคิดว่าด้วยอำนาจรัฐภายใต้เจ้าผู้ครองนครของมาคิอาเวลลีและการได้มาซึ่งอำนาจของคณะรัฐประหารไทย นับตั้งแต่คุณลักษณะของผู้ปกครองทั้งสามประการ คือ 1. ผู้ปกครองไม่จำเป็นต้องรักษาสัญญา พิจารณาจากการแก้ไขปัญหาทางการเมืองด้วยวิธีรัฐประหาร ซึ่งมิได้เป็นไปตามกลไกของระบอบประชาธิปไตย 2. มีลักษณะเป็นทั้งราชสีห์และสุนัขจิ้งจอก กล่าวคือมีการใช้อำนาจสร้างความยำเกรง เป็นลักษณะของราชสีห์ และการใช้กลไกทางรัฐธรรมนูญเพื่อรักษาไว้ซึ่งอำนาจ เป็นลักษณะอันเฉลียวฉลาดของสุนัขจิ้งจอก และ 3. คณะรัฐประหารไทยมิได้ใช้หลักการตามกรอบของคุณธรรม เพราะการรัฐประหารเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลโดยวิธีการอันละเมิด และนำไปสู่วิธีการได้มาซึ่งอำนาจของคณะรัฐประหารไทย เมื่อพิจารณาสาเหตุแห่งการยึดอำนาจมีความเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ การแสวงหา และการรักษาไว้ซึ่งอำนาจกองทัพ เห็นได้ชัดเจนจากประวัติศาสตร์การรัฐประหารในทุกยุคสมัย

Article Details

How to Cite
วิจิตรวัชรารักษ์ ก., ปญฺญารุโณ พ., ผาทอง เ., สันติรุ่งโรจน์ ส. ., & พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจริยคุณ. (2023). แนวคิดว่าด้วยอำนาจรัฐภายใต้เจ้าผู้ครองนครของมาคิอาเวลลี และการได้มาซึ่งอำนาจของคณะรัฐประหารไทย. วารสาร สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 14(1), 128–144. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/266312
บท
บทความวิชาการ

References

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563). ย้อนรอย ‘19 กันยา’ กับ 13 ‘รัฐประหาร’ ไทย รอบแผลเป็นบนถนนประชาธิปไตย. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นวันที่ 25 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/897979

กานต์ บุณยะกาญจน์. (2562). The Prince 2019 : มาคิอาเวลลีกับการเมืองไทย เมื่อกลอำนาจอยู่ในมือพ่อมด (สัมภาษณ์โดย ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย). The101.world. สืบค้นวันที่ 24 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.the101.world/the-prince-2019

การุณ ใสงาม. (2550). มาเคียเวลลี่สอนอะไร พลเอกสุรยุทธ์. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นวันที่ 23 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/daily/detail/9500000038410

โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2561). รัฐประหาร พ.ศ.2494 กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2492. มติชน.สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จากhttps://www.matichon.co.th/article/news_1269307

ชาดา นนทวัฒน์. (2552). กบฏแผ่นดิน แย่งชิงอำนาจ. กรุงเทพฯ: ยิปซี.

เนาวรัตน์ สุขสำราญ. (2557). Suthep in talks with Prayuth ‘since 2010’. Bangkok Post. สืบค้นวันที่ 29 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/416810/suthep-in-talks-with-prayuth-since-2010

ปฐม มณีโรจน์ และ สุนทร เกิดแก้ว. (2520). การปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน : ประมวลเอกสารสำคัญทางการเมืองระหว่าง 6 ตุลาคม-22 ตุลาคม 2519. กรุงเทพฯ : โครงการผลิตเอกสารประกอบการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ประชา เทพเกษตรกุล. (2535). การแทรกแซงทางการเมืองของทหารไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มาคิอาเวลลี, นิโคโล. (2552). The Prince เจ้าผู้ปกครอง (สมบัติ จันทรวงศ์, แปล). กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ. (ต้นฉบับตีพิมพ์ ค.ศ.1532)

___________(2560). The Prince เจ้าผู้ครองนคร (สรวงอัปสร กสิกรานันท์, แปล). กรุงเทพฯ : แอร์โรว์ คลาสสิกบุ๊คส์. (ต้นฉบับตีพิมพ์ ค.ศ.1532)

รุ่งมณี เมฆโสภณ. (2555). อำนาจ 2 ต่อสู้กู้ชาติ เอกราษฎร์ อธิปไตย. กรุงเทพฯ: บ้านพระอาทิตย์.

เริงศักดิ์ กำธร. (2545). กินอยู่เรียบง่ายสบายแบบชาวบ้าน ชวน หลีกภัย ลูกแม่ค้าขายพุงปลา. กรุงเทพฯ: เฟื่องอักษร.

วสันต์ ลิมป์เฉลิม. (2553). มองความขัดแย้งของการเมืองไทยผ่านแนวคิดมาคิอาเวลลี. ประชาไท. สืบค้นวันที่ 23 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2010/02/27635

วินัย ผลเจริญ. (2556). ทฤษฎีสังคมและการเมือง. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุทธินันท์ สุวรรณวิจิตร และ วรวิทย์ กลิ่นสุข. (2564). ทหารกับการเมืองในประเทศไทย. Journal of Modern Development ปีที่ 6 (2). สืบค้นวันที่ 29 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jomld/article/download/247218/168344/879025

วีระ สมบูรณ์. (2561). ทฤษฎีการเมืองกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: WAY of BOOK.

สุรชาติ บำรุงสุข. (2551). ไตรสรณคมน์ทหาร รัฐประหาร และการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันปรีดี พนมยงค์

___________(2558). เสนาธิปไตย:รัฐประหารกับการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: มติชน

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2560). อัตลักษณ์ ‘คนดี’ กับความล้าหลังของประชาธิปไตยไทย. ประชาไท. สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2017/12/74699

iLaw. (2563). ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560 : สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”. iLaw. สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://ilaw.or.th/node/5735

___________(2565). ย้อนความจำ 12 ปี กรุงเทพฯ ภายใต้ประชาธิปัตย์ กปปส. และ คสช. iLaw. สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.ilaw.or.th/node/6138

Pornphanh. (2557). ย้อนรอยรัฐประหารในประวัติศาสตร์ไทย. MTHAI. สืบค้นวันที่ 25 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://teen.mthai.com/variety/72869.html

The Standard Team. (2563). 20 ตุลาคม 2520 ทหารยึดอำนาจรัฐบาลที่ตัวเองขอให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี. The Standard. สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://thestandard.co/onthisday2010