ปัจจัยส่วนประสมทางด้านการตลาดบริการ ที่มีผลต่อการเลือกเส้นทางการท่องเที่ยวย่านริมน้ำฝั่งธนบุรี ของกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้พิการทางการเคลื่อนไหว

Main Article Content

ปฐมพงษ์ บำเริบ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของปัจจัยส่วนประสมทางด้านการตลาดบริการที่มีผลต่อการเลือกเส้นทางการท่องเที่ยวย่านริมน้ำ ฝั่งธนบุรีของกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้พิการทางการเคลื่อนไหว การดำเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม เก็บข้อมูลด้วยวิธีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ใช้แบบสอบถามกับนักท่องเที่ยวผู้พิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน 400 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญซึ่งประกอบไปด้วย 1) ผู้นำชุมชนและสมาชิกชุมชนกุฎีจีน  2)นักการตลาด  3)ตัวแทนสมาชิกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวและ 4) ตัวแทนบริษัทนำเที่ยวสำหรับผู้พิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน 6 คน   ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกายภาพและด้านกระบวนการให้บริการ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจการเลือกเส้นทางการท่องเที่ยว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05

Article Details

บท
Research article

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). สถิติด้านการท่องเที่ยว ปี 2560. กรมการท่องเที่ยวและกีฬา.

กันต์ฤทัย คลังพหล. (2563). การวิจัยแบบผสมวิธี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(1), 235-256.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2560). แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว ปี 2560. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

ชุตินันท์ สงวนประสิทธิ์. (2559, 20 พฤกษภาคม). ตีแผ่ปัญหาเหลื่อมล้ำในสังคมไทย เป็นไปได้แค่ไหนที่จะลดช่องว่างระหว่างคนจนและคนรวย. ค้นจาก https://thestandard.co/thai-inequality

ชูกลิ่น อุ่นวิจิตร .(2557). ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนชาติพันธุ์ในแขวงหลวงน้ำทา สปป.ลาว. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 10(3), 60-80.

ญาณิพัชญ์ อาภรณ์แสงวิจิตร. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวคนเดียวของสตรีในเขตกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธนกฤต สังข์เฉย. (2550). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ. มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี.

ธีร์ ตรงจิตพิทักษ์. (2556). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของคนพิการทางการเคลื่อนไหวในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2549). การตลาดบริการ: แนวคิดและกลยุทธ์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปฐมพงษ์ บำเริบ. (2561). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่าย กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนบางพลี ปุณณิกาเดคูพาจ. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ปฐมพงษ์ บำเริบ และ วสุธิดา นักเกษม. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าบนธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ปราโมชน์ รอดจำรัส. (2557). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปราณปริยา นพคุณ. (2561). ปัจจัยทางการตลาดท่องเที่ยวที่มีผลต่อการตัดสินใจเดินทางมาท่องเที่ยวดำน้ำลึกในประเทศไทยของนักดำน้ำชาวต่างชาติ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปิยพร ทองสุข. (2558). กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดบริการสาหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มเพศทางเลือก (LGBT)ในกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พิชญ์ชาดา มีใจเย็น. (2560). การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อโปรแกรมท่องเที่ยวผ่านสื่อสังคมออนไลน์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

พิทักษ์ ศิริวงศ์ และ ปัทมอร เส็งแดง. (2555). การท่องเที่ยวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในสังคมไทย. วารสาร Veridian E- Journal, 4(2), 221-228.

พิทักษ์ ศิริวงศ์, ธีระวัฒน์ จันทึก, จิตพนธ์ ชุมเกตุ, สุรภัทร์ พิไชยแพทย์ และ สุรภัทร์ พิไชยแพทย์. (2561). การพัฒนาแนวทางบริหารจัดการชุมชน แบบมีส่วนร่วม เพื่อรองรับการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบมีอัตลักษณ์ในพื้นที่ชุมชนหมู่บ้านมุสลิม. วารสารการเมืองการบริหารและกฎหมาย, 10(3), 76-95.

เพ็ญนภา เพ็งประไพ. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติในกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสังคมและวัฒนธรรมของเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ภัทราพร อาวัชนาการ. (2558). ปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในเขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยุทธ์ ไกยวรรณ์. (2552). หลักการทำวิจัยและการทำวิทยานิพนธ์. ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2548). การตลาดบริการ. สำนักพิมพ์เกษตรศาสตร์.

ละเอียด ศิลานอย และ สุภาวดีสุทธิรักษ์. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวในการเดินทางท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร: กรณีศึกษาสวนสละอาทิตย์ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 10(2), 110-121.

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และ อัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2547). ระเบียบวิธีวิจัย. พิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.

วีณา เชิดบุญชาติ. (2548). จากริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา...ถึงกลางสายชล. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ศรุตม์ โกมลเปลิน. (2561). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าประเภทของฝากจากต่างจังหวัดของผู้บริโภคในเขตภาษีเจริญ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิพม์]. มหาวิทยาลัยสยาม.

ศิริรัตน์ ขานทอง, ละเอียด ศิลาน้อย และ กันฑิมาลย์ จินดาประเสริฐ. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญในการท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน . วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 10(1), 42-58.

สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม 20 ปี พ.ศ. 2560- 2579. สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ.

สมบัติ กาญจนกิจ. (2560). นันทนาการและอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสรีวงษ์ มณฑา. (2542). การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2534). พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ. สํานักงานคณะกรรมการ คณะกรรมการกฤษฎีกา.

สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี. (2562). กรอบยุทธ์ศาสตร์ชาติ 20 ปี. สำนักนายกรัฐมนตรี

สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ. (2549). รายงานการสำรวจสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการ. สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ.

สิริภา กิจประพฤทธิ์กุล. (2556 ). ส่วนประสมทางการตลาดบริการ ทัศนคติ และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางไปท่องเที่ยวที่ประเทศเกาหลีของนักท่องเที่ยวชาวไทยในกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิพม์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สิริรัตน์ ชอบขาย. (2559). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวสำหรับผู้พิการทางการเคลื่อนไหวและผู้สูงอายุของจังหวัดอุบลราชธานี. [ดุษฎีนิพนธ์ดุษฏีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุภรณ์ อัตถาวงศ์, เกรียงไกร โพธิ์มณี, ขวัญมิ่ง คำประเสริฐ และ สุภาภรณ์ พรหมฤาษี. (2564). ยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวทางแม่น้ำเจ้าพระยาสำหรับนักท่องเที่ยวชาวจีนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(2), 361-374.

อิสระ อุปดี. (2561). แรงจงูใจ การเปิดรับข่าวสาร การตัดสินใจและรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวผู้พิการ. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 5(2), 87-103.

Allison, P. D. (1999). Multiple regression. Pine Forge Press.

Booms, B. H. & Bitner, M. J. (1981). Marketing strategies and organization structure for service firms. In Donnelly JH, George WR, (Eds), Marketing of Service, Conference Proceeding: American Marketing Association, Chicago, IL, 47-52.

Boone, E., & Kurtz, D. (2005). Contemporary marketing. Tomson.

Bordeianu, O. (2015). Accessible tourism: Challenging for Romania. Ecoforum Journal, 4(1), 86-91.

Ciriković, E. (2014). Marketing mix in tourism. Academic Journal of Interdisciplinary Studies, 3 (2), 111- 115.

Cochran, W.G. (1977). Sampling techniques (3rd edition). John Wiley & Sons.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). Harper Collins.

Eugenio-Martin, J. (2003). Modelling determinants of tourism as a five-stage process: A discrete choice methodological approach. Tourism and Hospitality Research, 4(4), 341-354.

Keller. P, & Kotler, A. (2014). Marketing management. Prentice - Hall.

Lovelock, C., Wirtz, J., Tatkeh, H., & Lu, Xi. (2005). Services marketing in Asia (2nd ed.). Pearson Education South Asia Pte.

Mastercard. (2019, March 10). Mastercard global destination cities index, 2019.Retrieved from https://www.mastercard.com/news/research-reports/2019/global-destination-cities-index-2019

McIntosh R. W. & Goeldner C.R. (1986). Tourism principles, practices, philosophies. John Wiley & Son.

Nastasi, B. K., & Schensul, S. L. (2005). Contributions of qualitative research to the validity of intervention research. Journal of School Psychology, 43(3), 177–195. doi: 10.1016/j.jsp.2005.04.003

Nguyen, D. K., Forest, O. & Nguyen, A. (2020). Understand the determinants of souvenir craft products design: A case study of tourism consuming at Chatuchak weekend market. Kasetsart Applied Business Journal, 14(20), 1-14.

Open Doors Organization. (2020, October 28). Economic impact of disability travel reaches $58.7 billions. Retrieved from https://opendoorsnfp.org/wp-content/uploads/2020/10/2020-Market-Study-Release_FNL.pdf

Pehlivanoğl, B. (2019). Hotel adaptation for travelers with disabilities (TWD): A design-oriented analysis. Journal of Art and Design, 7(6), 130-138.

Rifai, T. (2018, November 21). Africa tourism day. Retrieved from https://www.Africatourismday.org/index. php/lawyer/dr-taleb-rifai

Sood, T. (2017). Strategic marketing management and tactics in the service industry. Igi Global.

United Nation. (2006, August 4). The Core international human rights treaties. Retrieved from https://www.ohchr.org/EN/ProfessionalInterest/Pages/CoreInstruments.aspx

Werner, M. Kempf, F., & Corinth, T. (2019). Can you hear me? A research of touristic demand from and supply for deaf travelers. Corporate Sustainability and Responsibility in Tourism Journal, 10(1), 10-19. doi: 10.1007/978-3-030-15624-4_5

World Health Organization. (2011, December 14). Disability statistics 2011. Retrieved from https://www.who.int/teams/noncommunicable-diseases/sensory-functions-disability-and-rehabilitation/world-report-on-disability