คุณลักษณะของสื่อบุคคลกับการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • Suchada Namjaidee คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

คำสำคัญ:

สื่อบุคคล, การถ่ายทอด, ภูมิปัญญาท้องถิ่น

บทคัดย่อ

คุณลักษณะของสื่อบุคคลที่ควรรู้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำให้เกิดองค์ความรู้ทางด้านการดำรงชีพ ด้านสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน มีคุณลักษณะและบทบาทที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับคนหรือบุคคลที่มีศักยภาพสูงในท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากการสั่งสม ทักษะ ประสบการณ์ สามารถโน้มน้าวจิตใจ โดยได้รับการยอมรับและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่นนำมาปฏิบัติตาม ทำหน้าที่เป็นผู้ส่งสารผ่านช่องทางการสื่อสารโดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้วยภาษาพูด เขียน การสาธิตและลงมือปฏิบัติตามความเชี่ยวชาญและความชำนาญที่สืบทอดต่อเนื่องมาจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในการเรียนรู้ ยอมรับ ปรับเปลี่ยน สร้างสรรค์สิ่งใหม่ และสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญของภูมิปัญญาเปลี่ยนแปลงเป็นนวัตกรรมจากการเชื่อมโยงคน ความคิด กิจกรรม กลายเป็นกระบวนการพัฒนากลุ่มคนในชุมชนได้หลากหลายสาขาอาชีพ เป็นเครือข่ายด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นทางสังคม ทำให้คนรุ่นใหม่ที่เป็นผู้รับการถ่ายทอดได้นำมาประยุกต์ใช้เป็นเทคนิคในการพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับศักยภาพและความพร้อมในการสืบทอดอัตลักษณ์ทางคุณลักษณะของสื่อบุคคลทางภูมิปัญญาท้องถิ่นตามเจตนารมณ์ทุนทางปัญญาที่มีอยู่ในท้องถิ่นตามวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อมด้วยความมีคุณธรรม จริยธรรม ก่อให้เกิดประโยชน์จริงอย่างต่อเนื่องต่อไปได้

References

จินตวีร์ เกษมสุข. (2554). การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Communication and Social Change). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ. (2554). ศูนย์การเรียนและแหล่งความรู้สำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสื่อกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (หน่วยที่ 7, หน้า 7-1 ถึง 7-63). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2553). การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของปราชญ์ชาวบ้าน : กรณีศึกษาวงกลองยาวอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
เบญจวรรณ บุญใจเพ็ชร. (2559). การสื่อสารระหว่างบุคคล. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2559, จาก https://www.bloggang.com
พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานุกูล และถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์. (2554). แนวคิดหลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ชมรมวิจัยและพัฒนานิเทศศาสตร์.
พัชรินทร์ สิรสุนทร. (2552). ชุมชนปฏิบัติทางด้านการเรียนรู้ : แนวคิด เทคนิค และกระบวนการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัฒนา สุขประเสริฐ. (2558). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2554). การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ร้อยขวัญพุทธ มุ่งมาจน. (2556). องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านดอนหมู ชุมชนบ้านตำแย ชุมชนราชธานีอโศก และชุมชนฝึกฝนเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(2), 104-130.
วิรัช อภิรัตนกุล. (2553). การประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิรุฬห์ นิลโมจน์. (2558). ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งวิทยาการชุมชนเพื่อการศึกษาตลอดชีวิต. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพการศึกษานอกระบบ (หน่วยที่ 9, หน้า 9-1 ถึง 9-63, ปรับปรุงครั้งที่ 1). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วีรยา อักกะโชติกุล. (2552). บทบาทของสื่อบุคคลในการส่งเสริมการรับรู้องค์กรนวัตกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
สุชาดา น้ำใจดี. (2560). บทบาทสื่อบุคคลกับการถ่ายทอดความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาในการทำผ้าไหม กรณีชุมชน ตำบลเมืองปัก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. รายงานการวิจัย. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
เสรี พงศ์พิศ. (2552). คู่มือการทำวิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร : พลังปัญญา.
อนันต์ พันนึก. (2554). การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
อรุณรัตน์ ชินวรณ์. (2553). สื่อประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Lazarsfeld, P. F., & Herbert, M. (1968). Mass media and personal influence. In The Science of human communication. Edited by Schramm W. New York : The Basic book.
Middlebrook, P. N. (1974). Social psychology and modern life (2nd ed.). New York : Knopf.
Osgood, C. E. (2016). Communication. Retrieved July 25, 2016, from https://e-book. ram.edu/e-book/m//mc111/mc1110101.html
Robbins, S. P., & Coulter, M. (2008). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ แปลจากเรื่อง Management โดย วิรัช สงวนวงศ์วาน พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
Rusech, J., & Bateson, G. (2016). Communication. Retrieved July 25, 2016, from https://e-book.ram.edu/e-book/m//mc111/mc1110101.html
Szilagyi, A. D. Jr. W., and Marc, J. Jr. (1990). Organizational Behavior and Performance. Glenview Illinois : Scott, Foreman and Company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-07