ปัญหาการกำหนดโทษทางอาญาและมาตรการในการสลายการชุมนุม ตามกฎหมายการชุมนุมสาธารณะ

ผู้แต่ง

  • ประภาดา ชอบชื่นชม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2019.55

คำสำคัญ:

การกำหนดโทษทางอาญา, มาตรการในการสลายการชุมนุม, การชุมนุมสาธารณะ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพในการชุมนุม 2) กฎหมายการชุมนุมในที่สาธารณะตามกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายต่างประเทศ 3) วิเคราะห์สภาพปัญหาการกำหนดบทลงโทษตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 และ 4) เสนอแนะแนวทางมาตรการสลายการชุมนุม การบังคับใช้ รวมถึงมาตรการลงโทษที่เหมาะสมสำหรับการสลายการชุมนุมในที่สาธารณะ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเชิงเอกสาร โดยใช้กรอบวิเคราะห์ข้อมูล 3 ประการ คือ การลดทอนของข้อมูล การแสดงข้อมูล และการสรุปและยืนยันข้อสรุป นำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนา

            ผลการศึกษา 1) กฎหมายธรรมชาติอยู่เหนือกฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้น ทฤษฎีสัญญาประชาคมใช้พื้นฐานทางความคิดแนวปรัชญาแห่งรัฐแบบรู้แจ้ง ทฤษฎีความเป็นสูงสุดของรัฐธรรมนูญจากนัยของรัฐธรรมนูญนิยมที่ต้องกำหนดถึงกลไกในการใช้อำนาจให้เป็นไปอย่างชอบธรรม ทฤษฎีการแบ่งแยกการใช้อำนาจ 2) ประเทศอังกฤษ พบประเด็นการขอฎีกาขอพระราชทานสิทธิต่าง ๆ ประเทศสหรัฐอเมริกา พบประเด็นสำคัญในสิทธิขั้นพื้นฐานได้กลายมาเป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ สาธารณรัฐฝรั่งเศส พบปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมืองของสาธารณรัฐฝรั่งเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พบการยอมรับว่ามนุษย์เราต่างมีสิทธิที่ติดตัวมาพร้อมกับการเกิด สาธารณรัฐเกาหลีใต้ มีการบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบเป็นระบบกฎหมายไว้ในรัฐธรรมนูญ 3) แท้จริงประชาชนผู้เข้าร่วมการชุมนุมในที่สาธารณะยังถูกจำกัดการใช้สิทธิและเสรีภาพด้วยการใช้อำนาจรัฐที่เกินขอบเขตในการมิได้บัญญัติไว้อย่างชัดเจน และ 4) เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีอำนาจและมีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลการชุมนุมจะต้องไม่สับสนในการใช้อำนาจลงโทษปรับทางอาญามาใช้ในการลงโทษปรับทางปกครองอย่างเคร่งคัดและชัดเจน

References

Cotterrell, R. (1997). “The Concept of Legal Culture”. In David Nelken ed. Comparing Legal Cultures. Aldershot, Uk : Dartmouth.

Friedman, L. M. (1977). Law and Society: An Introduction. Englewood Dliffs, NJ : Prentice-Hall.

Government Gazette. (2017). Constitution of the Kingdom of Thailand BE 2560. Volume 134, Episode 40 A 6 April 2017. (In Thai)

Hobbes, T. (1651). Leviathan. Cap. 12 Art.

Kaewpongsa, M. (2010). Measures to contral the use of freedom in public gatherings. Master of Law Thesis, Ramkhamhaeng University. (In Thai)

Kasemsup, P. (1996). Philosophy of law (3th ed.). Bangkok : Winyuchon. (In Thai)

_______. (2007). Philosophy of law (8th ed.). Bangkok : October. (In Thai)

Klippel, D. (1976). Politische Freiheit und Freiheitsrechte im deutschen Naturrechtdes 18. Jahrhunderts. Schöningh.

Kriele, M. (1953). aaO. S. 164.

Legal Development Sub-Division, Legal and Litigation Department. (2015). Public Assembly Act 2015 (B.C. 2558). Bangkok: The Secretariat of the Senate. (In Thai)

Lertpaithoon, S., & Samutavanich, K. (2003). Protecting the rights and liberties of the People by the Constitutional Court. Bangkok : Thammasat University. (In Thai)

Mahanantapho, N. (2010). The role of government officials according to laws related to public gatherings.Master of Law Thesis, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Miles, M. B., &Huberman, A. M. (1994).Qualitative Data Analysis (2nded.). Thousand Oaks. CA : Sage Publications.

Miwongausok, B. (2006). Principles of using the power of the organization that must Consider human dignity. Rights and liberties under the constitution. Bangkok : P.Press. (In Thai)

Nilaprapan, P. (2012). Law on public assembly in foreign countries.Journal of Administrative Law, 27(1). 3-68. (In Thai)

Prechasilapakun, S. (2014). Freedom of peaceful assembly and without arms under the provisions of law. Bangkok : Office of the Constitutional Court. (In Thai)

Ratthanadilok Na Phuket, K. (2015). Rights and liberties under the constitution ; Important principles of a liberal democratic state. Parliamentary Substance, 63(4), 30-38. (In Thai)

Reibstein, E. (1972). Volkssouveranitat und Freiheitsrechte, Bd. I.

Renumat, P. (2008). Freedom of assembly according to the constitution. Retrieved on 30 June 2017, From http://www.publaw.net/publaw/view.aspx?id=1230 (In Thai)

Ruangsilp, C.(1980). History of Thai society in ancient times before the 25th century. Bangkok : Tonaor. (In Thai)

Sawangsak, C. (2012). Administrative law description. Bangkok: Winyuchon. (In Thai)

Stern, K. (n.d.). aaO., S 98f.mwN.

Tulayanon, W. (1985). Spirit of law. Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)

Wongsawatkul, E. (2008). The legal dimension of administrative decentralization to the local: jurisprudence. Bangkok: In Family, Administration, AjarnPairoj. (In Thai)

Yimprasert, S. (1993). 60 years of Thai democracy. Bangkok: Creative Publishing. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-09-01

How to Cite

ชอบชื่นชม ป. (2019). ปัญหาการกำหนดโทษทางอาญาและมาตรการในการสลายการชุมนุม ตามกฎหมายการชุมนุมสาธารณะ. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 13(3), 188–198. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2019.55