การพัฒนาแบบทดสอบทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ผู้แต่ง

  • วายุ แวงแก้ว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สุปราณี ขวัญบุญจันทร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • อนันต์ มาลารัตน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2020.69

คำสำคัญ:

การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์, แบบทดสอบทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์, เกณฑ์ปกติของทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์

บทคัดย่อ

   

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และสร้างเกณฑ์ปกติในระดับโรงเรียน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจงเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้แก่ กลุ่มทดสอบค่าความเชื่อมั่น และค่าอำนาจจำแนก จำนวน 40 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 235 คน รวม 275 คน และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ กลุ่มผู้ประเมินค่า IOC จำนวน 5 คน กลุ่มผู้ประเมินค่าความเป็นปรนัย จำนวน 3 คน รวม 8 คน ใช้แบบทดสอบทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การหาค่าที

            ผลการศึกษา พบว่า ได้แบบทดสอบทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 4 ทักษะ สามารถแยกกลุ่มที่มีความสามารถสูง และกลุ่มที่มีความสามารถต่ำได้อย่างชัดเจน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีค่าต่ำสุด คือ ทักษะการตีลูกบอลด้วยอุปกรณ์ (gif.latex?\bar{X} =2.01, S=0.73) ทักษะการตีลูกบอลด้วยมือ ( gif.latex?\bar{X}=2.22, S=0.84) ทักษะการโยนและรับลูกบอล (gif.latex?\bar{X} =2.43, S=0.96) และสูงสุด คือ ทักษะการเตะลูกบอล ( gif.latex?\bar{X}=2.71, S=1.03) ซึ่งสามารถแบ่งเกณฑ์ปกติในโรงเรียนเป็น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ และต่ำมาก

References

Boonchai, K. (2012). Measurement for physical education evaluation. Angthong : Worasilp Printing (Daeng). (In Thai)

Boonchai, W. (1986). Test and evaluation in physical education. Bangkok : Thai Wattana Panich. (In Thai)

Buato, S. (2009). Teaching documents for educational research methods. Bangkok : Kasetsart University. (In Thai)

Edwards, A. L. (1975). Statisical methods of the behavior science. New York : Rinehart.

Ieamsaard, P. (2016). The Development of an Authentic Assessment Model in Physical Education Learning Management for Prathomsuksa Three Students in a Small-Sized School. Dissertation, Doctor of Education Program in Health Education and Physical Education, Srinakharinwirot University, Bangkok. (In Thai)

Intomya, S. (2004). A development of the measurement instrument of the bodily-kinesthetic intelligence. Thesis, Doctorate of Philosophy Program in Physical Education Department, Chulalongkorn University, Bangkok (In Thai)

Kaemkate, W. (2012). Behavioral research science methodology (3rd ed.). Bangkok : The Publisher of Chulalongkorn University. (In Thai)

Kajornsin, B. (1996). Educational research. Bangkok : PN Printing. (In Thai)

Kirkendall, D. R., Gruder, J. J., & Johnson, R. E. (1987). Measurement and Evaluation for Physical Educators (2nd ed.). Champaign, Illinois : Human Kinetics.

Krabuanrat,, C. (2014). Application of basic principles in practice (FITT). Journal of Health, Physical Education and Recreation, 40(2), 5-13. (In Thai)

Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education (2008). Indicators and core learning content in the subject of health and physical education. Retrieved January 15, 2018, from www.acsp.ac.th/download/pe-KPI.doc (In Thai)

Office of the National Economic and Social Development Board Office of the Prime Minister. (2016). The 12th National Economic and Social Development Plan 2017-2021. Retrieved January 22, 2018, from https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 (In Thai)

Peanchob, W. (2018). Collection of articles about philosophy, principles, teaching methods, and measurement for physical education evaluation. Bangkok : The Publisher of Chulalongkorn University. (In Thai)

Peerapapornkun, A. (2015). Development of A Measurement Instrument On The Bodily-Kinesthetic Perception to Indicate Sports Talent of The Seventh Grade Students In Sports Schools. Thesis, Doctor of Education Program in Health Education and Physical Education, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Piyapimonsit, C. (2016). Documentation for teaching the use of IBM SPSS Statistice for analysis. Bangkok : Srinakharinwirot University. (In Thai)

Rovininelli, R. J., & Hambleton, R. K.. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criteria-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.

Sittirit, S. (2010). The Construction of Soccer Skills Test for Mathayomsuksa 4 Male Suan Kularb Wittayalai School. Thesis, Master of Arts Program in Physical Education, Kasetsart University, Bangkok. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-01

How to Cite

แวงแก้ว ว., ขวัญบุญจันทร์ ส., & มาลารัตน์ อ. (2020). การพัฒนาแบบทดสอบทักษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 14(4), 104–118. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2020.69