การพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้ เพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ผู้แต่ง

  • สำราญ ตั้งศรีทอง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • อดิศร เนาวนนท์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • สมร แสงอรุณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.57

คำสำคัญ:

แรงบันดาลใจในการเรียนรู้, การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง, การพัฒนาหลักสูตร

บทคัดย่อ

   

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างหลักสูตร ศึกษาผลการใช้หลักสูตร ประเมินและปรับปรุงหลักสูตรเพื่อส่งเสริมแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ครูผู้รับรางวัลจากมูลนิธิสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี 5 คน ครูผู้ใช้หลักสูตร 7 คน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 38 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างที่ผ่านตรวจสอบคุณภาพจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ แบบสอบถามความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบสอบถามความพึงพอใจ ซึ่งมีค่า IOC เท่ากับ 0.87, 0.62 และ 0.85 ตามลำดับ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม การทดลองใช้ และลงพื้นที่ภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐานโดยการหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

            ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการ 2) จุดมุ่งหมาย 3) เนื้อหาสาระ 4) การจัดการเรียนรู้ และ 5) การวัดและประเมินผล ซึ่งภาพรวมของหลักสูตรมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมาก ( =4.13) สูงกว่าความเหมาะสม ( =3.70) ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมแรงบันดาลใจก่อนเรียน  ( =46.59) น้อยกว่ากว่าหลังเรียน ( =53.85) สำหรับผลการปรับปรุงหลักสูตร พบว่า ภาพรวมหลังการใช้หลักสูตรมีความเป็นประโยชน์ ( =4.34) มากกว่าความเหมาะสม ( =4.06) และผู้เรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก   ( =4.45) แสดงให้เห็นได้ว่า หลักสูตรมีการพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้ทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนในยุคปัจจุบัน

References

Chareonwongsak, K. (2009). Inspiring children to live life with value. Retrieved January 14, 2019, from http://www.9anant.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=41613&Ntype=6 (In Thai)

Glatthorn, A. A., Boschee, F., Whitehead, B. M., & Boschee, B. F. (2018). Curriculum leadership, Strategies for development and implementation. SAGE publication.

Hart, T. (1998). Inspiration : Exploring the experience and its meaning. Journal of Humanistic Psychology, 38(3), 7-35.

Heron, T. E., & Cooke, N. L. (1982). Tutor Huddle : Key Element in a Class wide Peer Tutoring System. The Elementary School Journal, 83, 114-123.

Jaroenyingwattana, N. (2012). Finding and conveying inspiration in fashion design. Institute of Culture and Arts, 14(1), 27. (In Thai)

Leavitt, J. (1997). Poetry and prophecy : The anthropology of inspiration. Ann Arbor, MI : University of Michigan Press.

Mezirow, J. (2000). Learning to Transformation: Critical Perspectives on a Theory in progress. The Jossey-Bass Higher and Adult Education Series. Jossey-Bass Publishers, 350 Sansome Way, San Francisco, CA 94104.

Oliva, P. F. (1988). Developing the Curriculum (2nd ed.). Glenview, Illinois : Scott, Foresman.

Panit, W. (2015). Transformative learning. Bangkok : S.R. Printing Mass Products Co., Ltd. (In Thai)

Ryan, W. (2011). Inspirational Teachers Inspirational Learners. A book of hope for creativity and the curriculum in the twenty first century. Crown House Publishing Company LLC.

Saylor, J. G., & Alexander, W. M. (1974). Planing curriculum for schools. Holt, Rinchart and Winston.

Sinlarat, P. (2010). Creative and productive leader : New paradigm and new educational leaders. Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)

Srisa-an, W. (2014). Quality assurance culture : partner. National educational standards and quality assessments, (April- May), 6-10. (In Thai)

Srisaart, B. (2017). Preliminary research (10th ed.). Bangkok : Suwiriyasan. (In Thai)

Taylor, E. W. (2007). An update of transformative learning theory: A critical review of the empirical research. (1999-2005). International Journal of lifelong education, 26(2), 173-191.

Thongthew, S. (2009). The evolution of curriculum theory and conceptual framework for the development of alternative curriculum innovation. Journal of Education Naresuan University, 10, 92-121. (In Thai)

Tyler, R. W. (1971). Basic Principle of Curriculum and Instruction. Chicago : University of Chicago.

Uttaranan, S. (1994). Fundamentals and principles of curriculum development. Bangkok : Vongdaunkarnpim. (In Thai)

Wiessner, C A., & Mezirow, J. (2000). Theory building and the search for common ground. In J. Mezirow (ed) Learning as transformation, San Francisco : Jossey-Bass.

Yoelao, D., Langka, W., Pimthong, S., & Peungposop, N. (2013). The Evaluation of Watching Movies for Enhancing Inspiration of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University. Research project, Srinakharinwirot University. Bangkok : Srinakharinwirot University. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-26

How to Cite

ตั้งศรีทอง ส., เนาวนนท์ อ., & แสงอรุณ ส. (2021). การพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้ เพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 15(3), 214–227. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.57