การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

ผู้แต่ง

  • จุฑารัตน์ เกาะหวาย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ
  • เกริก ศักดิ์สุภาพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ
  • สุนีย์ เหมะประสิทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.60

คำสำคัญ:

หน่วยการเรียนรู้, สะเต็มศึกษา, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์, ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

    การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง ให้มีประสิทธภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง และผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70) 3) ศึกษาความสามารถการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แบบแผนที่ใช้ในการวิจัย คือ One-group Pretest Posttest Design กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 39 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ และแบบวัดความสามารถการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  การทดสอบประสิทธิภาพสื่อ (E1/E2) และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่าหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.60/84.35 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ70=14 คะแนน) และนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย หน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบSTEM มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทั้งภาพรวมและรายด้าน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01

References

Buecha, N. (2014). Effects of STEM Education Approach on Biology Achievement, Problem Solving Ability and Instructional Satisfaction of Grade 11 Students. Thesis, Master of Education Program in Teaching Science and Mathematics Prince of Songkla University, Songkla. (In Thai)

Bureau of Academic Affairs and Education Standards. (2004). Learning…integrated. Bangkok : Kurusapa Printing Ladphrao. (In Thai)

Chaipila, D. (2015). Effect of Project-Based Learning Activities Based on Stemeducation to Promote Mathayomsuksa II Students’ Creative Problem Solving Ability in Learning Chemical Reaction. Thesis, Master of Education Program in science Education, Naresuan University, Phitsanulok. (In Thai)

Chaolumbua, S. (2015). Development of a stem integrated curriculum on “SUGARCANE” for the 9TH grade students. Thesis, Doctor of Education Program in Science Education, Srinakharinwirot University, Bangkok. (In Thai)

Chitman-Booker, L., & Kopp, K. (2013). The 5Es of inquiry-based science. USA : Shell Education.

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of test. Phychometrika, 16(3), 297-334.

Henson, K. T. (2001). Curriculum Planning. USA : McGraw_Hill.

Klainin, S. (2012). Education of science DevelopmentandRecession. Bangkok : The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (In Thai)

Moonkhum, S. (2000). Learning to Professional Teacher. Bangkok : T.P. print. (In Thai)

National Institute of Educational Testing Service. (2013). Announcement O-net. Retrieved February 21, 2018, from http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx (In Thai)

Saengpromsri, P. (2015). Comparisons of learning achievement, integrated science process skills, and attitude towards chemistry learning for Matthayomsueksa 5 students between STEM education and conventional Methods. Thesis, Master of Chemistry Education Program in Chemistry, Mahasarakham University, Mahasarakham. (In Thai)

Siripathrachai, P. (2013). STEM Education and 21st Century Skills Development. Executive Journal, 33(2), 49-56. (In Thai)

Songkhwae, P. (2016). Development of STEM learning units to enhance scientific literacy in the topic of preservation land and rock of maehongsorn for prathomsuksa 6 students. Thesis, Master of Education Program in Curriculum and Instruction, Naresuan University, Phitsanulok. (In Thai)

Suwunphiboon, S. (2016). Development of stem education learning unit “ECO HOUSE” for seventh-grade students. Thesis, Master of Education Program in Educational Science and Learning Management, Srinakharinwirot University, Bangkok. (In Thai)

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2018). Assessment results PISA 2015 Science Reading andMathematic. Bangkok : The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (In Thai)

Vasquez, A. V., Sneider, C., & Cormer, M. (2013). Grade 3-4 STEM Lesson Essentials: Integrating Science, Technology, Engineering, and Mathematics. USA : Hei.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-09-06

How to Cite

เกาะหวาย จ., ศักดิ์สุภาพ เ., & เหมะประสิทธิ์ ส. (2021). การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM เรื่อง เสียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 15(3), 254–265. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.60