การปรับโครงสร้างมหาวิทยาลัยภาครัฐกับความเปลี่ยนแปลงตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558

ผู้แต่ง

  • ศักดิ์ดา นาสองสี สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
  • ศรุดา สมพอง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.74

คำสำคัญ:

การปรับโครงสร้าง, มหาวิทยาลัยภาครัฐ, ความเปลี่ยนแปลง, พระราชบัญญัติ

บทคัดย่อ

    การเปลี่ยนแปลงสถานะมหาวิทยาลัยไปเป็นหน่วยงานของรัฐที่อยู่ภายใต้การกำกับของรัฐ โดยยังคงมีภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาตามเดิม นำมาสู่การวิจัยครั้งนี้ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ศึกษาปัจจัยที่เกิดขึ้น และนำเสนอแนวทางของการปรับโครงสร้างมหาวิทยาลัยภาครัฐกับความเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 15 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างซึ่งผ่านความเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้วไปเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการจัดสนทนาอภิปรายกลุ่มด้วยการสัมภาษณ์ และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิแคราะห์แบบอุปนัย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างมหาวิทยาลัยในกำกับของไทยมีโครงสร้างการบริหารใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยที่เกี่ยวกับระบบการบริหารงานบุคคลที่ยังคงใช้ระเบียบที่ใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยรัฐ และการบริหารงบประมาณที่มีรายได้หลักมาจาการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล และไม่มีข้อมูลชี้ชัดว่าการออกนอกระบบจะให้การศึกษาของไทยพัฒนามากขึ้น สำหรับแนวทางการเปลี่ยนแปลงมหาวิทยาลัยของรัฐไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐนั้น จะต้องศึกษาบริบทความพร้อมของมหาวิทยาลัย ความสามารถในการแข่งขันและสร้างความเข้าใจในแนวทางการบริหารต่อบุคลากรของมหาวิทยาลัย

References

B01. (2018). Board. Interview. (In Thai)

B02. (2018). Board. Interview. (In Thai)

B05. (2018). Board. Interview. (In Thai)

B07. (2018). Board. Interview. (In Thai)

Besley, T., Burgess, R., Khan, A., & Xu, G. (2022). Bureaucracy and development. Annual Review of Economics, 14, 397-424.

Denzin, N. K., (1989). The research act (3rd ed.). New York : McGraw Hill.

Droge, A. (2022). Restructuring the Specialized University. Critical Times, 5(1), 139-149.

Gritsenko, D., & Wood, M. (2022). Algorithmic governance: A modes of governance approach. Regulation & Governmance, 16, 45-62. doi:10.1111/rego.12367

Hammer, M & Champy,J. (2003). Reengineering the Corporation: A Manifesto for Business Revolution. New York : Harper Business.

Jain, M., & Korzhenevych, A. (2022). Discerning institutional and spatial restructuring under emergent neoliberal projects in India. Political Geography, 97, 1-10. https://doi.org/10.1016/j.polgeo.2022.102642

Ministry of Education. (2011). Announcement of the Ministry of Education on Higher Education Standards 2011. Government Gazette. Volume 128, Special Section 47 Ngor (24 Fevruary 2011). (In Thai)

Neuvonen, P. J. (2022). A way of critique: What can EU law scholars learn from critical theory?. European Law Open, 1(1), 60-88.

Office of the Council of State. (1999). National Education Act of B. E. 2542. Retrieved December 22, 2021, from https://www.moe.go.th/backend/wp-content/uploads/2020/10/1.-พระราชบัญญติการศึกษาแห่งชาติ-พ.ศ.2542-ฉ.อัพเดท.pdf (In Thai)

Osborne, D., & Gaebler, T. (1992). Reinventing Government: How the Entrepreneurial Spirit Is Transforming the Public Sector. Reading, MA : Addison-Wesley.

Rakkwamsuk, A. (2016). Qaulitative Research : Principles and practices. Bangkok : October Printing. (In Thai)

Sanrattana, W. (2014). Educational Administration for the 21st Century. In Document for Lectures in Academic Seminars University of Northeastern Campus. (Mimeographed). (In Thai)

Sapbamrung, S. (2010). University management in the context of change. In Acadimic Seminar. Retrieved December 22, 2021, from https://somkuansub.files.wordpress.com/2010/12/(2553) (In Thai)

Smith, V. (1997). New Forms of Work Organization. Annual Review of Sociology. Vol. 23:315-339 (Vol.publication date August 1997) Retrieved December 22, 2021, from https://doi.org/10.1146/annurev.soc.23.1.315

Sriayut, W. (2019). The Rajabhat University Administration Towards Autonomous University. Thesis, Doctor of Philosophy Program in Educational Administration, Graduate School, Silpakorn University, Bangkok. (In Thai)

Srisa-an, W. (2015). Autononous University : Administrative Innovation of Thailand University. Retrieved December 22, 2021, from http://www.wichitlikhit.com/wp-มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ : นวัตกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย-for-reading.pdf (In Thai)

Suan Dusit University. (2015). History of Establishment of Suan Dusit University. Retrieved December 22, 2021, from https://www.dusit.ac.th/main/?page_id=24 (In Thai)

Tully, L. D. (2022). What Law Schools Should Leave Behind. Utah Law Review, Forthcoming.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-13

How to Cite

นาสองสี ศ., & สมพอง ศ. (2022). การปรับโครงสร้างมหาวิทยาลัยภาครัฐกับความเปลี่ยนแปลงตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(4), 176–186. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.74