การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ ชุด รอยลาว ขลุ่ยบางไส้ไก่

ผู้แต่ง

  • ธนันท์พัชร อัศวเสมาชัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • กชกร ชิตท้วม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • คมชวัชร์ พสูริจันทร์แดง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • อัมรินทร์ แรงเพ็ชร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.61

คำสำคัญ:

ขลุ่ยบางไส้ไก่, การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์, ชุมชนบางไส้ไก่

บทคัดย่อ

    ขลุ่ยบางไส้ไก่มีความประณีตนับเป็นทุนทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นได้อย่างชัดเจน ก่อให้เกิดการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหารูปแบบในการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำขลุ่ยของชุมชนบ้างไส้ไก่ (หมู่บ้านลาว) ภายใต้ชื่อชุดการแสดง “รอยลาว ขลุ่ยบางไส้ไก่” ผ่านการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับประวัติ วิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวลาวบางไส้ไก่ ใช้แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายที่เลือกแบบเจาะจง 3 คน วิเคราะห์เนื้อหาสู่การพัฒนารูปแบบตามหลักการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ ทดลองการแสดง 5 ครั้ง นำเสนอผลงานรูปแบบวิดีทัศน์และสร้างแบบประเมินประสิทธิภาพที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 1.00 ผลการศึกษาพบว่า การออกแบบลีลาได้รับการประเมินระดับมากที่สุด ด้านบทการแสดง นักแสดง เสียง อุปกรณ์ประกอบการแสดง พื้นที่การแสดง และแสงได้รับการประเมินระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนด้านการออกแบบเครื่องแต่งกายได้รับการประเมินระดับปานกลางและมาก แสดงให้เห็นถึงความสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดสู่แนวทางการออกแบบการวิจัยและพัฒนา การศึกษาในวงการอุตสาหกรรม การพัฒนาคุณภาพสินค้า การผลิตภัณฑ์ใหม่หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือพัฒนากระบวนการ ระบบหรือวิธีการทำงาน เพื่อให้ได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม ก่อนที่จะนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด

References

Asawasemachai, T. (2021). The Ideas of the Creation of Contemporary Dance Through Poachangkapit Chant. Journal of Humanities and Social Bansomdejchaopraya Rajabhat University, 16(1), 150-176. (In Thai)

Chareonrob, C., Kreitkong, A., & Wongsrikeaw, K. (2016). The Inheritance of local Wisdom in fine and applied arts, at the Thonburi district by local Wisdom information system. Research report. Thonburi Rajabhat University, Bangkok. (In Thai)

Chuangpinit, T., Mr. (2021, 30 September). Expert in the Office of Arts and Culture, Bansomdejchaopraya Rajabhat University. Interview. (In Thai)

Furaj, S. (2011). Mime: The Art of Posture and Movement. Bangkok : Thammasat Printing House. (In Thai)

Hongcharu, J. (2007). Theatrical review. Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)

Intangible cultural heritage. (2006). Faun Sao Mai. Performing Arts. Retrieved May 26, 2021, from http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing-arts/236-performance/310-----m-s (In Thai)

Jiwakanon, R. (2007). Theatrical review. (3rd ed.). Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)

Jutaviphat, W. (1999). Thai Handicrafts, Background and Current production. Case study: Flute Making. Bangkok : N. p. (In Thai)

Mattayomnan, W. (2015). The Creation of Dance from Concept upon Narayana’s Reincarnations. Dissertation, Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Ongthong, T. (2021, 22 August). Lecturer, Angthong College of Dramatic Arts Bunditpatanasilpa Institute Ministry of Culture. Integration of community products with dance arts. Interview. (In Thai)

Ongthong, T. (2022). The Creation of Performance “Thong Thai Yuan”. NRRU Community Research Journal, 16(3), 56-69. (In Thai)

Phothiyen, K. (2019). Creative Thinking: Talent that teachers should create to student. Journal of Education Silpakorn University, 17(1), 9-27. (In Thai)

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal for Educational Research, 2, 49-60.

Rujiumsin, N. (2021, 30 September). Bang sai kai Community Philosopher (Laos Village). Interview. (In Thai)

Seanaei, T. (2016). The Creation of Contemporary Dance on the Theme of ‘Women who were Mentally Affected by the Insurgency in the South of Thailand. Dissertation, Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Sujchaya, S. (ed.). (1999). "A traveler...for understanding of the land": Thonburi. Bangkok : Bangkok Printing House. (In Thai)

Suwancharas, S., Akkahad, D., Wichaidit, J., & Deshchaisri, R. (2019). The Development of Information and Communication Technology Skill with the Participation of the Community to Enhance Marketing and Conservation of Ban Lao Bamboo Flute Local Wisdom. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkron Rajabhat University, 13(1), 63-74. (In Thai)

Theeravaravissitt, N. (2016). The Creation of a Dance Based on the Concept of Samma Ditthi. Dissertation, Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

ภาพ 7 ภาพรวมบรรยากาศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ ชุด รอยลาว ขลุ่ยบางไส้ไก่

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-30

How to Cite

อัศวเสมาชัย ธ., ชิตท้วม ก., พสูริจันทร์แดง ค., & แรงเพ็ชร อ. (2022). การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ ชุด รอยลาว ขลุ่ยบางไส้ไก่. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(4), 1–15. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.61