การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติ ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ผู้แต่ง

  • ปวันรัตน์ ทองหลวง หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ธิติยา บงกชเพชร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2023.11

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา, ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์, รูปเรขาคณิตสามมิติ

บทคัดย่อ

    การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางและศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กำหนดกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจงเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 18 คน โดยใช้แผนการจัดการความรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม ชิ้นงาน และแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน จำนวน 16 ชั่วโมง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า และใช้สถิติหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ผู้วิจัยออกแบบสถานการณ์ในชีวิตจริงที่มีความท้าทายโดยบูรณาการกับสะเต็มศึกษา ผู้วิจัยกำหนดเงื่อนไขการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างชิ้นงานของผู้เรียนให้มีความคุ้มค่ามากที่สุด ผลการศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้านการสร้างแนวคิดอย่างสร้างสรรค์ได้ดีที่สุด การสร้างแนวคิดอย่างหลากหลาย และการประเมินและปรับปรุงแนวคิดตามลำดับ ทำให้นักเรียนมีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น

References

Kemmis, S. &McTaggart, R. (1998). The Action Research Planner. Australia : Deakin University Press.

Kirici, M.G. & Bakirci, H. (2021). The effect of STEM supported research-inquiry-based learning approach on the scientific creativity of 7th grade student. Journal of pedagogical reserch, 5(2). 19-35.

Leelasornchai, A., Panawong, C., & Kaewurai, W. (2018). The development of mathematics project-based learning activities based on stem education to enhance creative thinking and learning achievement on “Probability” for grade 9th students. Journal of Graduates Studies in Northern Rajabhat Universities, 8(14), 165-182. (In Thai)

MacDonald, A., Danaia, L., Sikder, S., & Huser, C. (2021). Early childhood educators’ beliefs and confidence regarding STEM education. International Journal of Early Childhood, 53, 241-259. https://doi.org/10.1007/s13158-021-00295-7

Ministry of Educaiton Thailand. (2008). Basic Education Care Curriculum B. E. 2551 (A. D. 2008). Bangkok : The Agricultural Cooperative Federation of Thailand. (In Thai)

Murphy, S., MacDonald, A., Danaia, L., & Wang, C. (2019). An analysis of Australian STEM education strategies. Policy Futures in Education, 17(2), 122-139. https://doi.org/10.1177/147821031877419

National Institute of Educational Testing Service (Public Organization). (2021). Basic statistics at the provincial level of grade 6 O-NET test results classified by subject matter. Retrieved March 13, 2022, from https://catalog.niets.or.th/dataset/it-16-30/resource/ddfb8dbd-4ee8-40b6-bfec-87ce3d9109a8

Ong, E., Luo, X., Yuan, J., & Yingprayoon, J. (2020). The effectiveness of a professional development program on the use of stem-based 5e inquiry learning model for science teachers in China. Science Education International, 31(2), 179-184.

Onsee, P. (2019). Development of Critical Thinking Skill and Academic Achievement in Physics of Mathayomsuksa 4 Student Using Inquiry-Based Learning with STEM Education. Thesis, Master of Education Program in Teaching of Science and Mathematics, Mahasarakham University, Mahasarakham. (in Thai)

Pholphak, W. (2018). The results of learning activities by using creative processes on learning achievement and mathematical creativity on “surface area and volume” of matheyomsuksa 3 students. Thesis, Master of Science Program in Mathematics study, Silpakorn University, Bangkok. (in Thai)

Phumkokrak, S., & Kittisuntorn, C. (2019). A Study of mathematics learning outcomes and creativity of ninth graders using stem education. Ratchaphruek Journal, 17(2), 73-79. (In Thai)

The Institute for the promotion of teaching science and technology. (2017). Using engineering design process to enhance creative thinking and problem solving. IPST Magazine, 46(209), 23-27.

The Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). (2019). PISA 2021 Creative thinking framework (third draft). Paris : The Organization for Co-operation and Development.

Tytler, R., Williams, G., Hobbs, L., & Anderson, J. (2019). Challenges and opportunities for a STEM interdisciplinary agenda. In B. Doig, J. Williams, D. Swanson, R. Borromeo Ferri, & P. Drake (Eds.), Interdisciplinary mathematics education: State of the art and beyond (pp. 51–84). USA : Springer Press. https://doi.org/10.1007/978-3-030-11066-6_5

Wangsila, P., Supap, W., & Klineam, C. (2018). The study of using mathematical modelling to enhance mathematical creative thinking in geometric analysis topis for 10th grade students. Journal of Education Naresuan University, 22(3), 150-163. (In Thai)

ภาพ 3 สร้างความสนใจของผู้เรียน

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-24

How to Cite

ทองหลวง ป., & บงกชเพชร ธ. (2023). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติ ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 17(1), 142–153. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2023.11