รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคม กลยุทธ์การตลาดสีเขียวที่ส่งผลต่อการดำเนินงานที่ยั่งยืนของวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ชิตวรา บรรจงปรุ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • สุวรรณา เตชะธีระปรีดา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • สวียา ปรารถนาดี ชาติวิวัฒนาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.73

คำสำคัญ:

ผู้ประกอบการเพื่อสังคม, กลยุทธ์ตลาดสีเขียว, ผลการดำเนินงานที่ยั่งยืน, วิสาหกิจเพื่อสังคม

บทคัดย่อ

    การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้องค์กรมีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อยืนยันรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการดำเนินงานที่ยั่งยืนของวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย กำหนดกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์การวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง 410 ตัวอย่าง ใช้แบบสอบถามที่มีค่าความน่าเชื่อถือทั้งฉบับมากกว่า 0.70 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการรับและส่งกลับคืนทางไปรษณีย์และออนไลน์ได้จำนวน 253 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมานพิจารณาความสอดคล้องกลมกลืนในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ และทดสอบสมมติฐานด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย และค่าสหสัมพันธ์พหุคูณยกกำลังสอง ผลการวิจัยพบว่า หลังปรับโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานที่ยั่งยืนของวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของตัวแปรผู้ประกอบการเพื่อสังคม คือ ด้านผู้สร้างคุณค่าทางสังคม ตัวแปรกลยุทธ์การตลาดสีเขียว คือ ช่องทางการจัดจำหน่ายสีเขียว และตัวแปรผลการดำเนินงานที่ยั่งยืน คือ ด้านผลการดำเนินงานด้านสังคม ซึ่งสามารถร่วมอธิบายความแปรปรวนของผลลัพธ์ ได้ร้อยละ 89 และมีอิทธิรวมเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานที่ยั่งยืนของวิสาหกิจเพื่อสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งโดยสรุปแล้วรูปแบบของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างผู้ประกอบการเพื่อสังคมและกลยุทธ์การตลาดสีเขียวในการจัดการวิสาหกิจเพื่อสังคมอย่างยั่นยืนในประเทศไทยนั้นควรขึ้นอยู่กับคุณค่าทางสังคมของกิจการ ช่องทางการตลาด และผลลัพธ์ทางสังคม

References

Bytyqi, N., Mestani, N., Mehmeti, H., Muji, S., & Mehaj, E. (2022). Factors influencing consumers’ behaviour and purchase of milk and dairy products in the green market of Kosovo. Journal of Hygienic Engineering and Design, 38, 292-297.

Cronbach, L. J. (1984). Essential of psychology testing. New York : Harper.

Dees, J. G. (2001). The meaning of “social entrepreneurship.” Center for the Advancement of Social Entrepreneurship.

García-Salirrosas, E. E., & Rondon-Eusebio, R. F. (2022). Green Marketing Practices Related to Key Variables of Consumer Purchasing Behavior. Sustainability, 14(14), 1-19. 8499. https://doi.org/10.3390/su14148499

Gunday, G., Ulusoy, G., Kilic, K., & Alpkan, L. (2011). Effects of innovation types on firm performance. International Journal of production economics, 133(2), 662-676.

Hair, J. F. Jr.; Black, W. C.; Babin, B. J.; & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective (7th ed.). New York : Pearson.

Khan, M. A. (2011). Climate change, vulnerabilities and South Asia: issues, challenges and options. Massachusetts : Edward Elgar.

Khaosa-ard, M., & Rayanakhon, K. (2009). Economic tools for environmental management. Bangkok : Office of the Health Promotion Foundation (ThaiHealth). (In Thai)

Kline, T. (2005). Psychological testing: A practical approach to design and evaluation. Thousan Oaks, CA : Sage Publications.

Koehne, F., Woodward, R., & Honig, B. (2022). The potentials and perils of prosocial power: Transnational social entrepreneurship dynamics in vulnerable places. Journal of Business Venturing, 37(4), 1-18. 106206. https://doi.org/10.1016/j.jbusvent.2022.106206

Lall, S. A., & Park, J. (2022). How social ventures grow: Understanding the role of philanthropic grants in scaling social entrepreneurship. Business & Society, 61(1), 3-44. https://doi.org/10.1177/0007650320973434

Lawrence, P., & Weber, L. (2008). “Get Ready for Migration: Clean-Up Your Collection”—What Does That Mean?. Journal of access services, 5(3), 373-381.

Mohanasundaram, V. (2012). Green marketing: Challenges and opportunities. International Journal of Multidisciplinary Research, 2(4), 66-73.

Office of Small and Medium Enterprises Promotion (OSMEP). (2016). Report on the number of entrepreneurs and employment. Retrieved August 14, 2020, from http://119.63.93.73/ sme2015/Report/View/1188 (In Thai)

Office of Social Enterprise Promotion. (2019). Social Enterprise Promotion Act B.E. 2562. Retrieved August 14, 2020, from https://www.osep.or.th/ดาวน์โหลด/ (In Thai)

Office of Social Enterprise Promotion. (2020). Announcement of the list of businesses registered as social enterprises. Retrieved April 9, 2021, from https://www.osep.or.th/ดาวน์โหลด/ (In Thai)

Polonsky, M. J. (2011). Transformative green marketing: Impediments and opportunities. Journal of business research, 64(12), 1311-1319.

Singh, P. B., & Pandey, K. K. (2012). Green marketing: policies and practices for sustainable development. Integral Review, 5(1), 22-30.

Smith, W. K., & Besharov, M. L. (2019). Bowing before dual gods: How structured flexibility sustains organizational hybridity. Administrative Science Quarterly, 64(1), 1–44.

Sri-saard, B. (2017). Preliminary research (10th ed.). Bangkok : Suwiriyasan. (In Thai)

Sumner, L. W., Amberg, A., Barrett, D., Beale, M. H., Beger, R., Daykin, C. A., ..., & Viant, M. R. (2007). Proposed minimum reporting standards for chemical analysis. Metabolomics, 3(3), 211-221.

Tiwari, S., Tripathi, D. M., Srivastava, U., & Yadav, P. K. (2011). Green marketing-emerging dimensions. Journal of Business Excellence, 2(1), 18.

UNIDO. (2018). The 2030 agenda for sustainable development: achieving the industryrelated goals and targets. Vienna : UNIDO.

West III, P. G., & Bamford, C. E. (2010). Strategy: Sustainable advantage and performance. Canada : South-Western Cengege Learning.

ภาพ 2 รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการดำเนินงานที่ยั่งยืนของวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-13

How to Cite

บรรจงปรุ ช., เตชะธีระปรีดา ส., & ปรารถนาดี ชาติวิวัฒนาการ ส. (2022). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคม กลยุทธ์การตลาดสีเขียวที่ส่งผลต่อการดำเนินงานที่ยั่งยืนของวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(4), 164–175. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.73