บทบาทหน้าที่และการกำกับดูแลตนเองของสำนักข่าวออนไลน์
DOI:
https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2023.42คำสำคัญ:
บทบาทหน้าที่, สำนักข่าวออนไลน์, การกำกับดูแลตนเองบทคัดย่อ
ยุคแห่งการหลั่งไหลของข้อมูลจำนวนมหาศาล สื่อออนไลน์กลายเป็นช่องทางนำเสนอที่สำคัญและสำนักข่าวออนไลน์มากมายได้กำเนิดขึ้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทหน้าที่สื่อมวลชนภายใต้บริบทความเป็นสำนักข่าวออนไลน์ และการกำกับดูแลตนเอง โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการรวบรวมเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก ซึ่งเป็นองค์กรสื่อดั้งเดิมที่มีการประยุกต์ทำข่าวออนไลน์ควบคู่และองค์กรสื่อออนไลน์แบบใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้น และเป็นเว็บข่าวแบบ Stand Alone รวม 6 คน ใช้เกณฑ์คัดเลือกภายใต้เงื่อนไขแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลจากกรอบการวิจัยและใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (IOC≥0.67) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า สื่อมวลชนออนไลน์ทั้งหมด มีการปฏิบัติตามบทบาททั้งการนำเสนอข่าวสาร ให้ความรู้ ความบันเทิง ชักจูงใจ ในรูปแบบการสื่อสารสองทาง โดยผู้รับสารมีความสำคัญขึ้น การนำเสนอจึงต้องระมัดระวัง มีความหลากหลาย เป็นรูปแบบใหม่ ภายใต้ปัจจัยกำหนดด้านเวลาและคู่แข่ง และต้องปรับตัวให้มีความสามารถรอบด้าน ส่วนบริบทพบว่า มีมาตรฐานภายในและใช้ร่วมกันทุกแพลตฟอร์ม โดยปรับตัวตามเทคโนโลยีและผู้บริโภค และการกำกับดูแลตนเอง ประกอบด้วย การกำกับภายในองค์กรและโดยสมาคมวิชาชีพ และการกำกับดูแลร่วมกัน ระหว่างองค์กรวิชาชีพ ประชาชน แสดงให้เห็นได้ถึงการปรับเปลี่ยน การพัฒนาบทบาท และการรักษามาตรฐานซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อความน่าเชื่อถือ
References
AmornIsriyachai, A. (2022). SOCIAL MEDIA Social media in the hands of the people. How will the media accept it?. Retrieved June 1, 2022, from https://tu.ac.th/thammasat-090365 -social-media-adaptation-journalists (In Thai)
Chanachaiphuwapat, S., & Timmuang, R. (2019). The study of valuable concepts and the decision criteria development in the white TV award project. Journal of Communication Arts Review, 23(9), 114-129. (In Thai)
Euamornvanich, P. (2019). MASS MEDIA AND SELF-REGUATION. Silpakorn University Journal, 39(3), 150-161. (In Thai)
Freiberg, A. (2010). The Tools of Regulation. New South Wales : The Federation Press.
Haraszti, M. (2008). The Media Self-Regulation Guidebook. Vienna : The OSCE Representative on Freedom of the Media.
Internet Innovation Research Center. (2022). Popular online news site. Retrieved June 1, 2022, from https://truehits.net/ (In Thai)
Key Informants no.1. (2023, 23 March). Professional. Interview. (In Thai)
Key Informants no.2. (2023, 3 March). Professional. Interview. (In Thai)
Key Informants no.3. (2023, 9 March). Professional. Interview. (In Thai)
Key Informants no.4. (2023, 2 March). Professional. Interview. (In Thai)
Key Informants no.5. (2023, 10 March). Professional. Interview. (In Thai)
Key Informants no.6. (2023, 13 March). Professional. Interview. (In Thai)
Lievens, E. (2010). Protecting Children in the Digital Era: The Use of Alternative Regulatory Instruments. Boston : Martinus Nijhoff Publishers.
Rodyu, C. (2019). NEWS IN DIGITAL MEDIA ERA. Parichart Journal Thaksin University, 33(2), 17-33. (In Thai)
Schramm, W. (1974). Mass Media and National Development. London : Standford University Press.
Somkanae, S. (2020). Online news and crises of faith in Thai. Retrieved on June 1, 2022, from media://www.presscouncil.or.th/academic/5400 (In Thai)
Sothanasathien, S. (1990). Communication with society. Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)
Srisa-ard, B. (2017). Preliminary research. Bangkok : Suwiriyasan. (In Thai)
Straubhaar, J. D., & LaRose, R. (2000). Media Now: Communications Media in the Information Age. California : Wadsworth.
Thai Civil Rights and Investigative Journalism. (2019). Media Disruption: EP10 online media Hopes, dreams, reality. Retrieved on June 1, 2022, from https://www.tcijthai.com/news/2019/8/asean/9615 (In Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.