การบูรณาการองค์ความรู้ด้านหลักกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (DESIGN THINKING) กับผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนเกาะลัดอีแท่น อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ผู้แต่ง

  • กวิน ประตูมณีชัย วิทยาลัยผู้ประกอบการสร้างสรรค์นานาชาติรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ประชม ทางทอง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • จิระศักดิ์ พุกดำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • สุคนธรส คงเจริญ วิทยาลัยผู้ประกอบการสร้างสรรค์นานาชาติรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2023.56

คำสำคัญ:

การบูรณาการองค์ความรู้, การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์และฉลากสินค้า, ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

บทคัดย่อ

    การสร้างสรรค์อัตลักษณ์ให้กับผลผลิตที่เน้นคุณค่าเพื่อยกระดับการยอมรับเป็นที่ประจักษ์สำหรับงานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างประโยชน์และรายได้ และศึกษาผลของการบูรณาการองค์ความรู้ด้านหลักกระบวนการคิดเชิงออกแบบให้กับผู้ประกอบการในชุมชนเกาะลัดอีแท่น อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กำหนดกลุ่มเป้าหมายแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 2 กลุ่มละ 20 คน รวม 40 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้างและแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ทั้ง 2 ฉบับ ไปเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ จัดแสดงในนิทรรศการ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการตีความสรุปและใช้สถิติหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบฉลากสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับผลิตผลการเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูป คือ ผลไม้แช่อิ่ม น้ำลูกหม่อนและใบชาหม่อน เปลือกส้มโออบแห้ง แยมส้มโอ และเปลือกส้มโอแช่อิ่ม เกิดจากหลักการออกแบบ 6 หลักเกณฑ์ คือ (1) ปกป้องผลิตภัณฑ์ (2) การบรรจุผลิตภัณฑ์ (3) อำนวยความสะดวก (4) ส่งเสริมการจำหน่าย (5) ความสะอาดและปลอดภัย (6) บรรจุภัณฑ์ และ 2) กลุ่มเป้าหมายมีการรับรู้และความพึงพอใจต่อฉลากสินค้าและบรรจุภัณฑ์ใหม่สำหรับผลิตผลการเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปอยู่ในระดับมาก ( =3.81, S.D.=0.39) ดังนั้น การพัฒนารูปแบบสามารถสนับสนุน สร้างคุณค่า ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนอย่างสร้างสรรค์ สร้างประโยชน์และรายได้ให้กับผู้ประกอบการในชุมชนได้อย่างยั่งยืน

References

Asawangkun, C. (2005). Design to impress: A packaging design guide for entrepreneurs and designers (2nd ed.). Chiang Mai : Within Book. (In Thai)

Carr, W., & Kemmis, S. (1992). Becoming Critical : Knowing through action research. Geelong, Australia : Deakin University Press.

Department of Cultural Promotion. (2019). Culture, value to value. Retrieved May 6, 2021, from http://www.culture.go.th/culture_th/ewt_news.php?nid=3972&filename=index (In Thai)

Dowcharoenporn, N., & Sooksala, S. (2020). Designing Brand and Packaging for the Product Promotion of Sewing and Craft Community Enterprise of Khao Kaeo, Srisomboon, Thung Saliam District, Sukhothai. Research report. Bangkok : Rajamangala Univeristy of Technology Phra Nakhon. (In Thai)

Hongthongkham, J. (2021). Product Design Development of the Herb Community Enterprise, Chanuman District, Amnat Charoen Province. Research report. Roi Et : Department of Science and Technology, Faculty of Liberal Arts and Science, Roi Et Rajabhat University. (In Thai)

Japan Package Design Association. (1986). Package Design in Japan 1. USA : Kodansha.

Kolko, J. (2014). Well-Designed: How to use Empathy to Create Products People Love. N. P. : Harvard Business Review Press.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2018). Principles of Marketing (17th ed.). England : Pearson.

Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. New York : Wiley & Son.

Meechinda, P., & Serirat, S. (2011). Strategic brand management and building brand equity. Bangkok : Thammasarn. (In Thai)

Ministry of Tourism and Sports. (2014). Agricultural tourism. Bangkok : n. p. (In Thai)

Mongkolsiri, S. (2011). Brand management. Bangkok : Hi. Erpress Co.-Publishing Brand H. (In Thai)

Nitiworakunapan, P. (2018). Fundamental Design. Bangkok : Rajamangala University of Technology Rattanakosin. (In Thai)

Office National Higher Education Science Research and Innovation policy Council. (2021). Creative Economy takes the Thai economy further to the international level. Retrieved December 15, 2022, from https://www.nxpo.or.th/th/9440 (In Thai)

Office of the National Economic and Social Development Council. (2017). Summary of important points National Economic and Social Development Plan No. 12 (2017-2021). Bangkok : Office of the Prime Minister. (In Thai)

Office of the Promotion of Local Wisdom and Community Enterprises. (2019). Action plan to drive the One Tambon Project One product, year 2019-2022. Bangkok : Department of Community Development, Ministry of Interior. (In Thai)

Petbunmee, P., & Wongrerkdee, C. (2020). A Creating Value Added by Creative design and Development Packing from Local Materials Hemp Fabric of Community Enterprise in Khirirat Sub-district, Phop Phra District, Tak Province. Research report. Tak : Rajamangala University of Technology Lanna. (In Thai)

Phummanee, T. (2011). Tourism Industry Management (6th ed.). Bangkok : Ramkhamhaeng University Printing. (In Thai)

Qngbaidika Naphat Phướchữu (Panich), Punyawutpreeda, P., & Wuthiphornsopon, U. (2021). Development of Product Packaging to Create Value of Yai Cha Community Product, Sampran District, Nakhon Pathom Province. Journal of MCU Buddhapanya Review, 6(2), 156-166. (In Thai)

Sangsuphan, K. (2021). Enhancing the Capability of Community-Based Agrotourism Management of Toeyhom Cooperative Community Enterprise in Khlong Sam Phathum Thani Province. Thesis, Master of Arts Program in Integrated Tourism Management, Srinakharinwirot University, Bangkok. (In Thai)

Sermchayut, R. (2020). Promotion Strategy For Community Based Tourism. Journal of Multidisciplinary Academic Research and Development, 2(4), 51-61. (In Thai)

Setthabutr, K. (2021). The Development of Lifestyle Brand Design Formats. Research report. Chonburi : Burapha University. (In Thai)

Sincharu, T. (2020). Research and statistical data analysis with SPSS and AMOS (18th ed.). Bangkok : Business R & D. (In Thai)

Thinothai, K. (2019). Factors as Influence to People’s Participation Related to Success of Community Based Tourism: A Case Study of Ban Bang Nam Pueng Community in Samutprakarn Province. Thesis, Master of Public Administration Program in Public Administration, National Institute of Development Administration (NIDA), Bangkok. (In Thai)

Woravat, N. (2020). Factors Affected the Strength of Tourism Community OTOP Nawatwithi in Nakhon Ratchasima Province. Thesis, Master of Public Administration Program in Public Administration, Rajabhat Maha SaraKham University, Maha Sarakham. (In Thai)

ภาพ 2	การพัฒนารูปแบบฉลากสินค้าและบรรจุภัณฑ์ใหม่สำหรับผลิตผลการเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปชุมชนเกาะลัดอีแท่น อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-26

How to Cite

ประตูมณีชัย ก., ทางทอง ป. ., พุกดำ จ. ., & คงเจริญ ส. (2023). การบูรณาการองค์ความรู้ด้านหลักกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (DESIGN THINKING) กับผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนเกาะลัดอีแท่น อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 17(4), 137–149. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2023.56