กรรม กฎแห่งกรรม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเรื่องกรรม กฎแห่งกรรม ในทางพระพุทธศาสนา โดยจะศึกษาเกี่ยวกับความหมายชนิดของกรรมการให้ผลของกรรมหรือวิบากกรรมสามารถให้ผลข้ามภพข้ามชาติได้ ถ้ายังไม่หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดคือนิพพาน ชาวพุทธมีความเชื่อว่า เมื่อมนุษย์อยู่ร่วมกันยังต้องสร้างกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน เพื่อลงโทษผู้เบียดเบียนทำร้ายผู้อื่นจะได้อยู่กันอย่างผาสุก แล้วในโลกแห่งจิตวิญญาณที่เหล่าสรรพสัตว์อยู่ร่วมกัน มันย่อมต้องมีกฎที่ยุติธรรมที่สุดและเป็นกฎธรรมชาติ ที่มีผลเสมอต่อทุกสรรพชีวิตที่ต้องรับผลจากการกระทำของตนเองที่กระทำลงไป แล้วมีผลต่อเพื่อนร่วมเกิดแก่เจ็บตาย เพื่อมิให้มีการเบียดเบียนซึ่งกันและกันแต่ฝ่ายเดียว เช่นเดียวกฎหมายบ้านเมืองของโลกฝ่ายวัตถุ ซึ่งนั้นก็คือกฎแห่งกรรม
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2539). กรรมและการเกิดใหม่. กรุงเทพมหานคร: โรงพิพม์ บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (2546). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ์ พริ้นติ้ง.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
สุนทร ณ รังษี. (2541). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แสง จันทร์งาม. (2545). พุทธศาสนวิทยา. กรุงเทพมหานคร: ธีระการพิมพ์.
“ผลกรรมดี-ชั่วอยู่ที่ไหน” : ตรรกศาสตร์เชิงพุทธในมิลินทปัญหา. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/academicbuddhism/2015/08/29/entry-1.
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (2546). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ์ พริ้นติ้ง.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
สุนทร ณ รังษี. (2541). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แสง จันทร์งาม. (2545). พุทธศาสนวิทยา. กรุงเทพมหานคร: ธีระการพิมพ์.
“ผลกรรมดี-ชั่วอยู่ที่ไหน” : ตรรกศาสตร์เชิงพุทธในมิลินทปัญหา. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/academicbuddhism/2015/08/29/entry-1.