คุณธรรมในทัศนะของเพลโต

Main Article Content

สรวิชญ์ วงษ์สอาด

บทคัดย่อ

           บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องคุณธรรมในทัศนะของเพลโต พบว่า คุณธรรมของเพลโตนั้น อยู่บนพื้นฐานของ “สัจภาพของมนุษย์” ตามหลักสิทธิ เสรีภาพ ภราดรภาพ ความเสมอภาค ความยุติธรรม ที่เป็นหลักการปกป้องผลประโยชน์ของมนุษย์ตามหลักคุณธรรม 2 ทาง คือ คุณธรรมของปัจเจกชนและคุณธรรมของรัฐ ที่สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตของสังคมตามวัตถุประสงค์ของรัฐ ก็คือ (1) การฝึกฝนให้พลเมืองมีความซื่อสัตย์สุจริต (2) การมีคุณธรรมเกี่ยวกับความดี และ (3) การอยู่ดีกินดี หลักการหรืออุดมการณ์เหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ที่รัฐจะต้องปฏิบัติ เพื่อเป็นหลักให้พลเมืองช่วยกันสร้างสรรค์ความเจริญให้แก่รัฐที่เพลโตกำหนด คือ (1) ชนชั้นปกครอง (2) ทหาร  และ (3) ชนชั้นกรรมาชีพ  โดยการเทียบเคียงคุณธรรมของเพลโต 4 ประการ คือ (1) คุณธรรมแห่งปัญญา (Wisdom) (2) คุณธรรมว่าด้วยความกล้าหาญ (Courage) (3) คุณธรรมว่าด้วยขันติ ความอดทน ความอดกลั้น (Temperance) และ (4) คุณธรรมว่าด้วยความยุติธรรม (Justice) เพราะว่าคุณธรรมของเพลโตเห็นว่าอำนาจในปกครองบุคคลและสังคม จะต้องแสวงหาความยุติธรรมด้วยคุณธรรมอันขัดเกลาให้เป็นคนดีด้วยความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ในการอยู่ร่วมกันโดยสันติภาพในสังคม ที่มีกฎเกณฑ์ และมีกติกา นั้นเอง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กีรติ บุญเจือ. (2529). ชุดพื้นฐานปรัชญา : แก่นปรัชญากรีก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (ม.ป.ป). ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ (ปรัชญากรีก) (Ancient Western Philosophy).กรุงเทพมหานคร: มหาลัยรามคำแหง.
บุญมี แท่นแก้ว. (2544). ปรัชญาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้ง 3. กรุงเทพมหานคร: ธนการพิมพ์.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2523). อุดมรัฐ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2538). ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2550). ปรัชญากรีก : บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : ศยาม.
พระเมธีธรรมมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2537). ปรัชญากรีกโบราณ : บ่อเกิดปรัชญาตะวันตก. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเคล็ดไทย.
พินิจ รัตนกุล. (2514). เพลโตและปัญหาเกี่ยวกับคุณธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พินิจ รัตนกุล. (2516). ทฤษฎีความรักของเพลโต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไพฑูรย์ พัฒน์ใหญ่ยิ่ง และคณะ. (2551). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ฟื้น ดอกบัว. (2532). ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์.
วิธาน สุชีวคุปต์. (2529). อิปรัชญา (Metaphysics). กรุงเทพมหานคร: มหาลัยรามคำแหง.
ส. ศิวรักษ์. (2523). โสคราตีส. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2540). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: รวมสาส์น.
สมบัติ จันทรวงศ์. (2527). ความนำว่าด้วยอุดมรัฐของเพลโต. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวัฒน์ จันทรจำนง. (2540). ความเชื่อของมนุษย์เกี่ยวกับปรัชญาและศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
Align W. Guilder. (1995). Enter Plato. New Yoke : Basic Books Press.
Field. C.C. (1965). Plato,s Thought. London: Oxford University Press.
Gorgias. translated by B. Jowelt. ( 1953). The Dialogues of Plato. Oxford University Press.
John M. Rist. (1964). Eros and Psyche : studies in Plato. Plotinud, and Origen. Toronto: University of Toronto Press.
Plato. (1953). Republic. Translated by B. Jowett. In the Dialogues of Plato. Oxford University Press.
Plato. (1968). The Republic of Plato. Translated with notes and an interpretive essay by Allan Bloom. New York: Basic Book. Inc.
Plato. (1968). The Republic. Translated by Alan Bloom. New York: Basic Book Press.
Plato. (1975). Republic. Translated by Desmond Lee. Penguin Books.
Richard Mckeon. (1931). The Basic Works of Aristotle : Ethica Nicomachea, tr. W.D. Ross. New York: Random House.