แรงงานนอกระบบกับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายการประกันสังคม

Main Article Content

ธนินท์รัฐ ไชยพัฒน์เดชากร
อธิธัช สิรวริศรา
รัชยา ภักดีจิตต์

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความวิชาการมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงภาพรวมของแนวคิดของแรงงานนอกระบบกับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายประกันสังคม โดยเกริ่นนำถึงความสำคัญของแนวคิดแรงงานนอกระบบ ปัญหาของแรงงานนอกระบบ และอธิบายถึงความหมายของแรงงานนอกระบบ และแนวคิดสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายประกันสังคม ปัญหาการคุ้มครองแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อนำไปสู่แนวทางในการจัดการสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายประกันสังคมเพื่อแรงงานนอกระบบของไทย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. (2561). ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน. ค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2566, จาก https://informal.labour.go.th/2015-12-03-04-59-03/990-kma011

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. (2561). โครงการวิจัยเรื่องการสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบเพื่อการบริหารจัดการแรงงานนอกระบบที่ดีอย่างมีประสิทธิภาพ. ค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2566, จาก https://informal.labour.go.th/2018/2015-12-03-04-58-04/1006- report01

กาณติมา พงษนัยรัตน์. (2560). ผลกระทบของแรงงานนอกระบบจากการเข้าไม่ถึงสวัสดิการภาครัฐในช่วงสถาณ การณ์โควิด 19. วารสารรัฐศาสตร์รอบรู้และสหวิทยาการ, 4(3), 27-44.

จิราภรณ์ เกสรสุจริต และลัดดา วัจนะสาลิกากุล. (2538). การประกันสังคมในประเทศไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ตะวัน วรรณรัตน์. (2557). การศึกษาแรงงานนอกระบบในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับภาษาไทย, 34(3), 119-150.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2560). เศรษฐกิจนอกระบบ. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2565, จาก https://www.bot.or.thThai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/DocumentEconomicSeminar/informal_econoy

นิคม จันทรวิทุร. (2528). การประกันสังคม: 30 ปี แห่งการรอคอย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมล.

พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่2). (2537). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 111, ตอนที่ 63 ก, หน้า 9-12.

พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่3). (2542). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 116, ตอนที่ 22 ก, หน้า 2-5.

พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่4). (2558). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 132, ตอนที่ 53 ก, หน้า 7-9.

พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533. (2533). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 107, ตอนที่ 161, หน้า 25.

สมภูมิ แสวงกุล. (2553). แรงงานนอกระบบเสาหลักเศรษฐกิจไทย. วารสารประชากรศาสตร์, 26(1), 67-69.

สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์ และอุษณีย์ ศรีจันทร์. (2565). แรงงานนอกระบบสวัสดิการยามชราและการออม. ค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2566, จาก https://tdri.or.th/2022/03/informal-sector-workers-welfare/

สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน. (2554). แผนยุทธศาตร์การบริหารจัดการแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2555-2559. ค้นเมื่อ 19 กรกฎคม 2566, จาก https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/ sites/ 2/2019/03/PlanStrategy_Labour55-59Minister_Dec0811.pdf

สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน. (2561). แผนปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการแรงงานนอกระบบ พ.ศ.2560-2564. ค้นเมื่อ 19 กรกฎคม 2566, จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER003/GENERAL/DATA0000/00000641.PDF

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). สรุปผลที่สำคัญ แรงงานนอกระบบ พ.ศ.2562. ค้นเมื่อ 19 กรกฎคม 2566, จาก https://www.nso.go.th

สำนักงานสภาพัฒนาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13. ค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2566, จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=index

สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่. (2561). แรงงานนอกระบบ. ค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2566. จาก https://chiangmai.labour.go.th/index.php/2018-10-31-08-11-28/408-2018-10-31-06-38-13

โสรญา พิกุลหอม. (2561). สิทธิประโยชน์ของแรงงานนอกระบบตามมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533. ค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2566, จาก http://w.w.w.parliament.go.th/library