สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มนุษยชาติทั่วทุกมุมโลกมีความรู้ความเข้าใจในหลักสิทธิมนุษยชน และมีการพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติอันประกอบด้วยประเทศที่เป็นสมาชิกได้มีการลงมติรับรองและประกาศใช้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เพื่อเป็นหลักการที่สำคัญยิ่งในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาคมโลกเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยประเด็นหลักของสิทธิมนุษยชนคือ หลักความเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งแยกหรือถูกเลือกปฏิบัติ มีสิทธิด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมการเคารพในสิทธิซึ่งกันและกัน หลักสิทธิมนุษยชนจึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาคมโลกจะต้องเรียนรู้ และมีความเข้าใจที่ตรงกัน ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างทั้งในประเทศและระหว่างประเทศด้วยวิสัยทัศน์และการเปิดโลกทัศน์ที่กว้างไกล อันจะได้ซึ่งสันติสุขและความสงบสุขของประชาคมโลก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. (ม.ป.ป.). ประวัติ UN. ค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2567, จากhttps://thai-inter-org.mfa.go.th/th/page/ประวัติองค์การสหประชาชาติ?menu=5d6bb81015 e39c3c8c005d48
กระทรวงการต่างประเทศ. (ม.ป.ป.). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. ค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2567, จาก https://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/udhr-th-en.pdf
นฤดม แป้นเจริญ. (2561). หลักนิติธรรมกับความปรองดองของสังคม. รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการอบรมหลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 5 วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ สำนักงานรัฐธรรมนูญ.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ 32. (2550). เรื่องที่ 4 สิทธิมนุษยชน. ค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2567, จากhttps://www.saranukromthai.or.th/Ebook/BOOK32/pdf/book32_4.pdf
สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2567). คู่มือแนวทางการปฏิบัติ สำหรับส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณี การชุมนุมสาธารณะ. ค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2567, จากhttps://static.nhrc.or.th/file/ content/pdf/28613/file-1719485992.pdf
สำนักงานเลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงงาน. (2563). หลักการสำคัญสิทธิมนุษยชน. ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2567, จาก https://www.labour.go.th/index.php/54523-2020-06-18-04-03-28
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย. (ม.ป.ป.). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. ค้นเมื่อ 9 มกราคม 2567, จาก https://www.amnesty.or.th/our-work/hre/udhr/
The Standard. (2566). กำเนิดสหประชาชาติ (UN). ค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2567, จาก https://thestandard.co/ onthisday-24101945/
UK in Thailand. (2021). ฉลอง 806 ปี "กฎบัตรแมกนา คาร์ตา" ต้นแบบประชาธิปไตยจากอังกฤษที่ระบุว่า "ไม่มีผู้ใดอยู่เหนือกฎหมาย". ค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2567 จาก https://www.facebook.com/ukinthailand/ photos/a.184169038290 171/5892574150782936/
UNESCO. (2014). Global Citizenship Education: Preparing learners for the challenges of the 21st century. Retrieved March, 4, 2024, from https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000227729
UNESCO. (2015). Final Report “Second UNESCO Forum on Global Citizenship Education: Building Peaceful and Sustainable Societies”. Retrieved March, 4, 2024, from https://www.gcedclearinghouse.org/sites/default/files/resources/Second%20UNESCO%20Forum%20on%20Global%20Citizenship%20Education.pdf